รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
24 เมษายน 2566
ข่าวเด่น, งานวิจัยและนวัตกรรม, ความเป็นนานาชาติ, ภาพข่าว
ผู้เขียน นิธิกานต์ ปภรภัฒ
ผศ.ดร.ปิยะชาติ ภิรมย์สวัสดิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านวิชาการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ในภาควิชาการเงิน และหัวหน้าหลักสูตรปริญญาเอกศศินทร์ฯ ร่วมเวทีนำเสนอในรูปแบบ TED Talk ในงาน Leaping boldly into new global realities: Notes on Session 3 of TED2023 เมื่อวันอังคารที่ 18 เมษายน 2566 ที่ Vancouver Convention Centre รัฐ Vancouver, BC, Canada ซึ่งภายในงานมีผู้นำเสนออีก 6 ท่านได้แก่ Jennifer D. Sciubba, Chip Conley, Ashif Shaikh, Barbara F. Walter, Keyu Jin, Ian Bremmer
ผศ.ดร.ปิยะชาติ ได้กล่าวถึงเทคโนโลยีที่สามารถช่วยให้ผู้สูงอายุก้าวข้ามอุปสรรคทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคมในการจ้างงาน โดยเครื่องมือที่ใช้คือ exoskeletons ที่สามารถช่วยในการทำงานของผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นการยกของหนักด้วยแขนของหุ่นยนต์ที่สามารถช่วยให้รับน้ำหนักในการหยิบสิ่งของได้อย่างไม่สั่นคลอน นอกจากนี้ยังมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในเรื่องของการเตือนความจำและให้ผู้สูงอายุสามารถทำงานที่บ้านได้ โดยหลีกเลี่ยงปัญหาการเดินทางที่ยากลำบาก นอกจากนี้เครื่องมือดังกล่าวยังช่วยให้ประชากรสูงวัยยังคงมีความกระตือรือร้นในการทำงาน ช่วยลดภาระทางการเงิน ช่วยเพิ่มผลผลทางเศรษฐกิจ และช่วยขจัดข้อสันนิษฐานเดิมที่ว่าผู้สูงอายุไม่สามารถเป็นสมาชิกที่มีประสิทธิผลทางสังคมได้ต่อไป
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ TEDBlog: https://blog.ted.com/leaping-boldly-into-new-global-realities-notes-on-session-3-of-ted2023/
สามารถรับชมย้อนหลังได้ที่ https://tedlive.ted.com/webcasts/t2023/session/739
Piyachart Phiromswad speaks at SESSION 3 at TED2023: Possibility. April 17-21, 2023, Vancouver, BC, Canada. Photo: Gilberto Tadday / TED
อาจารย์และนิสิตสถาปัตย์ จุฬาฯ ร่วม Workshop กับอาจารย์และนักศึกษา Tokyo Metropolitan University ที่ญี่ปุ่น
อาจารย์และนิสิตภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วม Workshop กับอาจารย์และนักศึกษาจาก Faculty of Urban Environmental Sciences, Tokyo Metropolitan University ประเทศญี่ปุ่น (TMU)
จุฬาฯ ร่วมพิธีวางพวงมาลาถวายสักการะและจัดพิธีบำเพ็ญกุศลอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเนื่องใน “วันนวมินทรมหาราช”
ละครนิเทศจุฬาฯ 2567 “ด้ายแดงเป็นเหตุ Unfortunate Love”
24 - 26 มกราคม 2568
ณ โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ ชั้น 7 อาคารสยามสแควร์
จุฬาฯ ต้อนรับคณะศึกษาดูงานด้านการบริหารความเสี่ยงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แบ่งปันประสบการณ์การพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมเรื่อง “กัญชาทางการแพทย์: ความรู้ที่ต้องมีสำหรับเภสัชกรยุคใหม่”
11 ธ.ค. 67 เวลา 09.00 – 12.15 น.
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ และ Zoom
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมโครงการ “Next-Gen Arts: พัฒนาศักยภาพครูศิลปะด้วย Soft Power”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้