รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
27 เมษายน 2566
ข่าวเด่น
ผู้เขียน สุรเดช พันธุ์ลี
คณะกรรมการนิสิตหอพักจุฬาฯ จัดประชุมเรื่องปัญหาเกณฑ์การพิจารณาอยู่ต่อหอพักนิสิต เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2565 ณ ห้องคณะกรรมการนิสิตหอพัก มีผู้เข้าร่วมประชุม 22 คน ในที่ประชุมมีการเสนอแนะวิธีการต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางทางการคัดเลือกนิสิตเข้าอยู่ต่อในหอพักนิสิตจุฬาฯ จากคณะกรรมการนิสิตหอพักโดยมีรูปแบบการเชิญชวนและมีการมีส่วนร่วมของนิสิตหอพัก ในที่ประชุมมีมติให้แก้ไขและเพิ่มเติมดังต่อไปนี้
– ห้ามครอบครองสำหรับสิ่งของเพื่อเล่นการพนัน หรือต้องจับได้ซึ่งหน้าเท่านั้น
– ให้มีการลงทะเบียนรถจักรยานยนต์
– การตรวจ 5ส จาก 2 ครั้ง เป็น 1 ครั้ง ตามความเห็นที่ประชุม
– ลดสัดส่วนการทำกิจกรรมลง 10% และเพิ่มสัดส่วนการอยู่หอแทน
– คะแนนกิจกรรมพาร์ทไทม์ 3 คะแนน จาก 15 คะแนน และ 40 ชั่วโมง ได้ 1 คะแนน
– มีการจัดทำกิจกรรม “ผ้าป่าปัญหาหอพักนิสิต” โดยให้นิสิตหอพักแต่ละตึกเขียนประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะของเกณฑ์การอยู่ต่อหอพักใส่กระดาษและนำมาเสียบที่ต้นผ้าป่าและรวมรวมปัญหาและนำมาประมวลผล
– จัดให้มีการเสนอปัญหาและข้อเสนอแนะของเกณฑ์การอยู่ต่อหอพักปัจจุบัน แนวทางการปรับแก้ร่วมกันในช่องทางออนไลน์ผ่านโปรแกรม padlet ในหัวข้อ “เรามาช่วยกันแก้ปัญหาหอกัน” โดยตั้งโจทย์ปัญหาไว้ดังนี้
– จะแก้เรื่องเกณฑ์คะแนนหออย่างไรให้เท่าเทียม
– ปัญหาส่วนกลาง
– ปัญหารอบบริเวณหอพัก
– อยากได้กิจกรรมไหนในหอพัก
– ปัญหาโรงอาหาร- จัดประชุมแลกเปลี่ยนปัญหาและแนวทางแก้ไขสำหรับหอพักนิสิตนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะร่วมกัน
– นิสิตหอพักที่ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะจากทุกอาคารหอพัก นิสิตชายและหญิงจำนวน 2,000 คนประกอบด้วย นิสิตหอพักตึกพุดซ้อน นิสิตหอพักตึกพุดตาน นิสิตหอพักตึกจำปี นิสิตหอพักตึกจำปา และนิสิตหอพักตึกชวนชม จากช่องทางต่าง ๆ และได้นำมาประมวลผลและจัดทำร่างเกณฑ์การคัดเลือกนิสิตอยู่ต่อหอพัก และนำเกณฑ์ที่ร่างดังกล่าวเข้าที่ประชุมดำเนินงานหอพักนิสิตครั้งที่ 10/2565 ตามตารางเกณฑ์ที่ผ่านการร่างดังนี้
– นำเกณฑ์ที่ร่างมาทำการประชาพิจารณ์ผ่านช่องทางออนไลน์ครั้งที่ 1 วันที่ 25 กันยายน 2565 และครั้งที่ 2 วันที่ 17 – 19 ตุลาคม 2565 หลังจากนั้นทำการเสนอร่างที่ผ่านการทำประชาพิจารณ์เข้าที่ประชุมดำเนินงานหอพักครั้งที่ 10/2565 เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2565 และมีมัติเห็นชอบร่างดังกล่าว จากนั้นให้นิสิตหอพักทุกคนมีส่วนร่วมลงประชามัติเกณฑ์การพิจารณาอยู่หอพักผ่านช่องทางออนไลน์ที่เว็บไซต์หอพักนิสิต https://rcuchula.com วันที่ 24 ตุลาคม 2565 ผลการลงประชามัติมีผู้มาใช้สิทธิ์ 1,390 คน รับรอง 1,208 คน ไม่รับรอง 182 คน จากนั้นเริ่มประกาศใช้วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565
ปัจจัยผลกระทบต่อรายได้และการเติบโต ธุรกิจ Education Technology (EdTech) ในประเทศไทย
รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย อดีตอาจารย์คณะวิศวฯ จุฬาฯ ได้รับการประกาศเกียรติคุณ “Friend of Thai Science 2024”
เศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ เจ้าภาพจัดงานประชุมระดับโลก AASLE 2024 ครั้งแรกในไทย รวมนักเศรษฐศาสตร์แรงงานจากทั่วโลกร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และนำเสนอผลงานวิจัย
สัมมนาเรื่อง EDCs สารเคมีที่ส่งผลต่อสุขภาพและระบบนิเวศ
“Nifty Elderly: ของเล่นของแต่งบ้านเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์เด็กเล็กและผู้สูงวัย”ผลงานอาจารย์ครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลเหรียญทองการประกวดนวัตกรรมที่ฮ่องกง
อาจารย์คณะครุศาสตร์ – วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาฯ และนักเรียนสาธิตจุฬาฯ คว้ารางวัลเหรียญทองจากการประกวดนวัตกรรมนานาชาติ KIDE 2024 ที่ไต้หวัน
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้