รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
31 กรกฎาคม 2561
ภาพข่าว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดเวทีจุฬาฯ เสวนา ครั้งที่ 15 เรื่อง “เขื่อนแตก เรื่องของลาว กับ เรื่องของเรา” เมื่อวันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2561 ณ ห้องประชุม 202 อาคารจามจุรี 4 เพื่อเป็นเวทีวิชาการสาธารณะเผยแพร่องค์ความรู้จากนักวิชาการและนักวิจัยผู้เชี่ยวชาญจากจุฬาฯ ร่วมวิเคราะห์ถึงอุทกภัยจากการแตกของเขื่อนเซเปียน-เซน้ำน้อย ในแขวงอัตตะปือ ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตและสูญหาย รวมถึงมีผู้ประสบภัยจำนวนมาก นำเสนอในแง่มุมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหลักการออกแบบสร้างเขื่อนให้แข็งแรง ผลกระทบจากอุทกภัยที่เกิดขึ้นกับประเทศ สปป.ลาว และประเทศไทยในฐานะประเทศเพื่อนบ้าน การให้ความช่วยเหลือของประเทศไทยแก่ สปป.ลาว จากอุทกภัยในครั้งนี้ และการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้นอีกในอนาคต โดยมี ศ.ดร.พิรงรอง รามสูต รองอธิการบดี จุฬาฯ เป็นผู้กล่าวเปิดงานเสวนา
วิทยากรร่วมการเสวนา ประกอบด้วย รศ.ดร.กุลยศ อุดมวงศ์เสรี ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาฯ รศ.ดร.ฐิรวัตร บุญญะฐี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ผศ.ดร.อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ คุณอดิศร เสมแย้ม นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญเรื่อง สปป.ลาว สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
จุฬาฯ – ไปรษณีย์ไทย เปิดมิติใหม่แห่งการดูแลสุขภาพสัตว์เลี้ยง “พี่ไปรฯ ส่งยา สัตวแพทย์ จุฬาฯ ส่งรัก” เพิ่มความสะดวกให้คนรักสัตว์ทั่วประเทศ
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ชวนแข่งขันบอร์ดเกมชิงรางวัล
ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรจัดค่ายเสริมสร้างวิรัชมิตรเพื่อพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยสู่ชุมชนและประชาคมโลก
อธิการบดีจุฬาฯ และผู้บริหารมหาวิทยาลัยปักกิ่งเปิดนิทรรศการภาพ “อักษรศิลป์สิรินธรลิขิต”จัดโดยสถาบันขงจื่อแห่งจุฬาฯ
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ จัดเสวนา “ฬ.จุฬาฯ นิติมิติ” หัวข้อ “ประเทศไทย กับการระงับข้อพิพาทที่ศาลโลก”
17 มิถุนายน 2568 เวลา 10.00 – 12.00 น.
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ
สถาบันวิจัยสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน จุฬาฯ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจชีวภาพในงานมหกรรมทรัพยากรชีวภาพฯ ประเมินคุณสมบัติผู้ประกอบการเพื่อรับรางวัล “เครื่องหมาย B MARK” ประจำปี 2568 จาก BEDO
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้