รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
29 พฤษภาคม 2566
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ผู้เขียน ณัฐริณีย์ พร้อมวงศ์
สำนักงานวิทยทรัพยากร ร่วมกับศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการบรรยายด้านความปลอดภัยและฝึกการเอาตัวรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์เหตุกราดยิงสำหรับผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุด บุคลากรสังกัดสำนักงานวิทยทรัพยากรและผู้รับจ้างประจำอาคาร เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 3 สำนักงานวิทยทรัพยากร เพื่อให้บุคลากรของสำนักงานวิทยทรัพยากร มีความรู้และเกิดความตระหนัก พร้อมได้รับการฝึกทักษะเบื้องต้นในการปฏิบัติตนนำตนเองและผู้รับบริการที่อยู่ในอาคารขณะเกิดเหตุพ้นจากอันตราย และมีโอกาสรอดชีวิตมากขึ้น โดยมีนายบัญชา ชูทรงเดช รักษาการแทนรองผู้อำนวยการศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องเหตุกราดยิง การฝึกใช้สายรัดห้ามเลือด และร่วมฝึกซ้อมสถานการณ์เหตุกราดยิง ร่วมกับ พ.ต.ท. ณัฐกิตติ์ ปิ่นทองดี รอง ผกก.ป.สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน ภายใต้หลักการ “หนี ซ่อน สู้” รวมถึงยุทธวิธีและการเข้าปฏิบัติการควบคุมสถานการณ์ของตำรวจ การแจ้งเหตุเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์เหตุกราดยิง
หลังจากการบรรยาย ได้มีการจำลองเหตุการณ์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้นำความรู้และทักษะจากการฝึกไปเป็นแนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุจริง
ในการนี้ ผศ.ดร.ชัยพร ภู่ประเสริฐ รองอธิการบดี และรักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ ร่วมสังเกตการณ์การฝึกการเอาตัวรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์เหตุกราดยิงในครั้งนี้ ซึ่งผลการฝึกอบรมจะเป็นแนวทางในการทำแผนเผชิญเหตุและแผนการฝึกสำหรับใช้ฝึกอบรมให้กับ คณะ หน่วยงานอื่น ๆ ต่อไป
การเปิด – ปิดประตูจุฬาฯ และการจัดการจราจรในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2565
โปรโมชั่นฉลองเทศกาลรับปริญญาจุฬาฯ GRADUATION GIFTS 2023
“โคม คราฟท์: นวัตกรรมศิลปะพื้นบ้าน เพื่อการตกแต่งอย่างยั่งยืน” ผลงานอาจารย์และนิสิตจุฬาฯ ได้รับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรมที่อินโดนีเซีย
อบรม “การเพิ่มศักยภาพของผู้มีส่วนได้เสียในการท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ”
16 ตุลาคม 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น.
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา
“ประติมากรรมเสียงสวรรค์” ศิลปะผสานเทคโนโลยีที่หน้าคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
จุฬาฯ ครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย จากสถาบันหลักของโลก 2 แห่ง Times Higher Education 2024 และ QS World University Rankings 2024
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้