รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
16 พฤศจิกายน 2566
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ผู้เขียน สมบูรณ์ พัฒนปรีชาเสถียร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) และบริษัท อาชนวัฒน์ จำกัด ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับนวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์พลาสติก เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 ณ ห้องประชุม 201 ชั้น 2 อาคารวิจัยจุฬาฯ โดยมี ศ.ดร.หทัยกานต์ มนัสปิยะ ผู้อำนวยการ PETROMAT นายรัชพันธุ์ พันธุ์ชาตรี และนายพัทธพล เปรมตุ่น กรรมการบริษัท อาชนวัฒน์ จำกัดร่วมลงนามความร่วมมือในครั้งนี้ ซึ่งครอบคลุมการออกแบบบรรจุภัณฑ์การค้นคว้าวัตถุดิบ การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร การขึ้นรูปพลาสติกรวมถึงร่วมกันต่อยอดผลงานวิจัยด้านบรรจุภัณฑ์พลาสติกจากระดับมหาวิทยาลัยไปสู่การวิจัยและพัฒนาเป็นนวัตกรรมในระดับอุตสาหกรรม เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ที่พร้อมใช้งานได้จริงในเชิงพาณิชย์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของภาครัฐทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคเอกชนเป็นเครือข่ายใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในด้านปิโตรเคมีและวัสดุศาสตร์มีผลงานวิจัยจำนวนมากในด้านที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพลาสติกปิโตรเคมีและพลาสติกชีวภาพมีระดับความพร้อมทางเทคโนโลยีที่พร้อมมุ่งสู่เชิงพาณิชย์ปัจจุบันกำลังดำเนินโครงการศูนย์ร่วมผู้เชี่ยวชาญด้านวัสดุยั่งยืนเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน (Hub of Talents: Sustainable Materials for Circular Economy) โดยร่วมมือกับภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวัสดุยั่งยืนตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน อาทิการแทนที่วัตถุดิบเดิมด้วยวัสดุอื่น (Substitution) การลดการใช้วัสดุ (Dematerialization) การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต (Manufacturing Efficiency)
เป็นต้น สำหรับความร่วมมือกับ PETROMAT ในครั้งนี้ บริษัท อาชนวัฒน์ จำกัดพร้อมลงทุนสนับสนุนเพื่อร่วมขับเคลื่อนการต่อยอดงานวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
ประกาศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง แนวปฏิบัติเพื่อรองรับมาตรการจัดการในสถานการณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5 สำหรับการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 27-31 มกราคม 2568
ประกาศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง การจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5 ระหว่างวันที่ 27-31 มกราคม 2568
จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดถึง 240 คน
CHULA THAILAND PRESIDENTS SUMMIT 2025 ครั้งแรกกับการรวมตัวครั้งยิ่งใหญ่เพื่ออนาคตประเทศไทย! รับชมสดผ่าน Facebook Live
จุฬาฯ-มหิดล จับมือขับเคลื่อนพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคม “คติชนน่าน ตระการใจ”
จุฬาฯ พร้อมเป็นเจ้าภาพการประชุม c-อพ.สธ. 2569 ทั่วประเทศ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้