รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
24 พฤษภาคม 2567
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ผู้เขียน สมบูรณ์ พัฒนปรีชาเสถียร
เทคโนโลยีชีวภาพ ไฟฟ้าเคมี อิเล็กทรอนิกส์ ดิจิทัล Big data และ Machine learning เป็นเทคโนโลยีที่จำเป็นในภาคอุตสาหกรรมอาหารและสุขภาพ มีการนำเทคโนโลยีเหล่านี้ไปใช้กับกับกระบวนการผลิตภัณฑ์และการวินิจฉัย เนื่องจากมีความเที่ยงตรง ความรวดเร็ว และความสะดวกในการใช้งานสูง
เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ณ ห้อง 218 ตึกเคมี 2 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ Mr.Felipe de la Morena Casado เอกอัครราชทูตสเปนประจำประเทศไทย และ ศ.ดร.ประณัฐ โพธิยะราช คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ เป็นพยานในพิธีลงนามความร่วมมือระหว่าง Electrochemistry and Optical Spectroscopy Center of Excellence (EOSCE) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านเคมีไฟฟ้าและสเปกโทรสโกปีเชิงแสง กับ Biolan Microbiosensores, S.L. (BIOLAN) ซึ่งเป็นองค์กรระดับนานาชาติ ประกอบด้วยทีมงานมืออาชีพที่มีความเชี่ยวชาญสูงจากหลากหลายสาขาวิชา มีความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ของการลงนามความร่วมมือครั้งนี้เพื่อสนับสนุนการริเริ่มการวิจัยที่เป็นนวัตกรรมระดับแนวหน้าในด้านตัวตรวจวัด (sensor) เพื่อประโยชน์ของประเทศไทย โดยการสร้างระบบการวิเคราะห์ใหม่ที่ง่ายต่อการใช้งานสำหรับภาคอุตสาหกรรมอาหารและสุขภาพ
วงดนตรี CU Band กับความประทับใจในงานวันที่ระลึกวันทรงดนตรี 20 กันยายนที่จุฬาฯ
เชิญชวนนิสิตจุฬาฯ เรียนหลักสูตร Google AI Essentials บน Coursera
คอนเสิร์ต “Music Connections: From Chao Phraya to Huangho” สานสัมพันธ์วัฒนธรรมไทย-จีน โดยวง CU Chamber Ensemble และ BFSU Chamber Orchestra
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร The University of Waikato
อาจารย์และนิสิตจุฬาฯ จิตอาสา ลำเลียงถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมจังหวัดเชียงราย
จุฬาฯ ต้อนรับคณะครูและนักเรียนจาก YAAE สาธารณรัฐประชาชนจีน เยี่ยมชม รับฟังข้อมูลหลักสูตรศึกษาต่อจุฬาฯ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้