รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
17 สิงหาคม 2567
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2567 ณ ห้องประชุมชั้น 7 อาคารจามจุรี 10 ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร ผู้รักษาการอธิการบดีจุฬาฯ เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการ NVAITC Symposium 2024 ซึ่งคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับ NVIDIA จัดขึ้นระหว่างวันที่ 17-18 สิงหาคม 2567 เพื่อให้นักวิชาการและผู้แทนจากภาคอุตสาหกรรมได้หารือเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีของ NVIDIA ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) Big Data และ Machine Learning โดยเน้นในเรื่อง Generative AI และ Metaverse เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับ Generative AI และการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีนี้อย่างกว้างขวาง โดยมี รศ.ดร.พีรพล เวทีกูล และ ผศ.ดร.เอกพล ช่วงสุวนิช ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นวิทยากรในหัวข้อ “Turning AI Collaborations into Actions: Healthcare and NLP” นอกจากนี้ ในวันที่ 18 สิงหาคม 2567 มีการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “Foundation Models: A Pillar of GenAI” เพื่อให้ผู้สนใจด้าน Generative AI ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องมือและชุดเครื่องมือต่างๆ ของ NVIDIA
NVAITC (NVIDIA AI Technology Center) เป็นศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลก ก่อตั้งโดย NVIDIA บริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกที่มีชื่อเสียงในด้านการผลิตหน่วยประมวลผลกราฟิก (GPU) และมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเทคโนโลยี AI ให้ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยทำงานร่วมกับนักวิจัยจากทั่วโลกเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี AI ใหม่ ๆ และปรับปรุงประสิทธิภาพของโมเดล AI NVAITC ได้ร่วมมือกับนักวิจัย นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรม ในการพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AI, Big Data และ Machine Learning เพื่อสร้างนวัตกรรม และความก้าวหน้าในวงการเทคโนโลยี
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ ร่วมกับ Degree Plus เปิดอบรมหลักสูตรผู้บริหาร “Decentralized Finance and Blockchain”
วิศวฯ จุฬา จัดเสวนา “เข้าใจน้ำท่วม แนวคิดวิศวกร”
10 ต.ค. 67 เวลา 14.00 น.
ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม (ตึก 4) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์พระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2566 เป็นวันที่สอง
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์พระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2566
ความประทับใจของบัณฑิตจุฬาฯ ในรั้วจามจุรี และพิธีพระราชทานปริญญาบัตรที่ภาคภูมิใจ
การประชุมวิชาการ “พระเสด็จโดยแดนชล” วัฒนธรรมเห่เรือในวรรณคดีและศิลปกรรมไทย เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพิธีมอบรางวัลการประกวดบทร้อยกรองประเภทกาพย์เห่
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้