รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
26 กันยายน 2567
ข่าวเด่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกำหนดจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2565 ในวันพุธที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 3 และวันศุกร์ที่ 4 ตุลาคม 2567 ณ หอประชุมจุฬาฯ โดยจะมีการเปิด-ปิดประตูจุฬาฯ และการจัดการจราจรในวันดังกล่าว ดังนี้
ประตูรถยนต์ ยานพาหนะ
1. เปิดประตูคณะรัฐศาสตร์ เวลา 05.00 – 22.00 น. รถยนต์ทั่วไปสามารถผ่านเข้า – ออกและขึ้นจอดรถที่อาคารจอดรถ 3 ได้
2. เปิดประตูธรรมสถาน ตลอดเวลา
3. ปิดประตูหน้ามหาวิทยาลัยฝั่งหอประชุมจุฬาฯ ด้านถนนพญาไททั้งทางเข้าและทางออก
4. ปิดประตูคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
5. ปิดประตูคณะวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่จะอนุญาตเปิดประตูเฉพาะรถของผู้บริหาร และรถที่มีบัตรเชิญพิเศษผ่านเข้า – ออกได้ในช่วงที่มีการเตรียมเส้นทางใกล้เวลาเสด็จฯ
6. ปิดการจราจรแยกหอนาฬิกา ห้ามรถที่ไม่เกี่ยวข้องผ่านเข้ามาบริเวณวงเวียนเสาธง หน้าหอประชุมจุฬาฯ เจ้าหน้าที่จะอนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ
7. ปิดการจราจรแยกพิพิธภัณฑ์จุฬาฯ ห้ามรถที่ไม่เกี่ยวข้องเลี้ยวขวาเข้ามาบริเวณวงเวียนเสาธงหน้าหอประชุมจุฬาฯ อนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ
8. ปิดประตูคณะอักษรศาสตร์ตลอดเวลา ส่วนประตูทางเข้าอาคารจอดรถ 2 ให้เข้าเฉพาะรถยนต์ที่จะขึ้นจอดบนอาคารเท่านั้น ไม่อนุญาตให้รถยนต์ผ่านเข้ามาในมหาวิทยาลัย
9. ปิดการจราจรที่แยกหน้าอาคารวิศิษฐ์ประจวบเหมาะ ตรวจสอบรถ อนุญาตเฉพาะรถที่มีตราติดรถยนต์ของมหาวิทยาลัยและรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษผ่านเข้า – ออกได้ กรณีรถจักรยานยนต์ อนุญาตเฉพาะรถของบุคลากรและผู้ที่ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยหรือบริษัทที่มีความเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเท่านั้น
10. ปิดการจราจรที่แยกลานจักรพงษ์ ตรวจสอบรถ อนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ กรณีรถยนต์ของบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตร์ แนะนำให้นำรถยนต์เข้า – ออกด้านภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
11. ปิดประตูคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
ประตูทางเท้า
1. ประตูประตูทางเท้าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
2. ประตูทางเท้าคณะวิทยาศาสตร์ เปิดเวลา 03.00 – 22.00 น.
3. ประตูทางเท้าคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เปิดตลอดเวลา
4. ประตูทางเท้าด้านจามจุรีสแควร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
5. ประตูประตูทางเท้าคณะเภสัชศาสตร์ เปิดตามเวลาปกติ เวลา 05.00 – 22.00 น.
6. ประตูทางเท้าด้านอาคารวิศวกรรมสถาน ปิดตลอดเวลา
7. ประตูทางเท้าสำนักงานมหาวิทยาลัย เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
8. ประตูทางเท้าคณะนิเทศศาสตร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
9. ประตูทางเท้าสถาบันศศินทร์ เปิดเวลา 05.00 – 24.00 น.
10. ประตูทางเท้าสนามกีฬาจุฬาฯ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
11. ประตูทางเท้าด้านธรรมสถาน เปิดตลอดเวลา
12. ประตูทางเท้าข้างอาคารจามจุรี 9 เปิดตามเวลาปกติ เวลา 05.00 – 22.00 น.
13. ประตูทางเท้าคณะอักษรศาสตร์ 05.00 – 22.00 น.
หมายเหตุ: งดให้บริการรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า และรถจักรยานในฝั่งหอประชุมจุฬาฯ รถสามล้อมูฟมีจะไม่เข้ามหาวิทยาลัย ส่วนประตูรัฐศาสตร์ รถสามล้อมูฟมีจะผ่านเข้าถึงหน้าอาคารเกษมอุทยานินเท่านั้น
เชิญร่วมงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ “108 ปี จามจุรีประดับใจ” 26 มีนาคม 2568
26 มี.ค. 68
สนามหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล
เชิญชาวจุฬาฯ ร่วมงาน “สงกรานต์รวมใจ วิถีไทย จุฬาฯ สืบสานประเพณี”
จุฬาฯ เชิญบุคลากรตรวจสุขภาพประจำปี โดย Walk-in ได้ พิเศษปีนี้เพิ่มตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
สัมมนาวิชาการ “โอกาสทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวของประเทศไทยในคาซัคสถาน”
พิธีเปิดกิจกรรม Enrichment Program for CU รุ่นที่ 2 และกิจกรรมประเมินความสุข (CU Happiness)
มีนาคม - กรกฎาคม 2568
PMCU เปิดโอกาสให้เยาวชนไทยประกวดออกแบบพื้นที่อุทยาน 100 ปีจุฬาฯ ให้เป็นสวนแห่งความสุข ภายใต้แนวคิด CHULA FOR ALL
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้