รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
7 ตุลาคม 2567
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางนวัตสหศิลป์เพื่อสุขภาวะ คณะศิลปกรรมศาสตร์ – อิมิลี่ ซากอย เเห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการประชุมวิชาการ The 1st International Study Group on Creative Arts Therapy เมื่อวันที่ 21-23 กันยายน 2567 ณ สมาคมนิสิตเก่าจุฬาฯ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะขั้นสูงในการวิจัยของนักวิชาการ นักวิจัย และนักศิลปะบัดในการดูเเลสุขภาวะในทุกช่วงอายุ
การประชุมวิชาการทางด้านศิลปะบำบัดในครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก Prof.Dr.Rachel Lev-Wiesel ผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะบำบัดจากมหาวิทยาลัย Haifa ประเทศอิสราเอล ปาฐกถาเรื่อง “The Use of Creative Tools in both Assessment and Therapeutic Approaches” นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมประชุมจาก 10 ประเทศได้นำเสนอผลการวิจัย 18 เรื่องเกี่ยวกับนวัตกรรมเพื่อการดูแลเยียวยาสุขภาวะที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์และสภาพจิตใจ เช่น พฤติกรรมรุนแรงในวัยรุ่น โรคสมองเสื่อม โรคซึมเศร้า โรคจิตเวท โรควิตกกังวล โรคจิตเวชเนื่องมาจากสารเสพติด ภาวะความพึงพอใจในตนเองต่ำ เป็นต้น
ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางนวัตสหศิลป์ เพื่อสุขภาวะ คณะศิลปกรรมศาสตร์ – อิมิลี่ ซากอย เเห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2562 โดยความร่วมมือระหว่างคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับ The Emili Sagol Creative Arts Therapies Research Center at the University of Haifa ประเทศอิสราเอล โดยมี ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะบำบัด (หลักสูตรนานาชาติ) และ Prof. Rachel Lev-Wiesel เป็นผู้ก่อตั้ง ทั้งสองท่านเป็นผู้มีประสบการณ์ในการทำวิจัยดนตรีบำบัดและศิลปะบำบัด โดยมีเป้าหมายเพื่อประยุกต์ใช้ศิลปกรรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมที่บูรณาการศาสตร์ในการพัฒนาสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจของมนุษย์
อบรมบุคลากรศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ หลักสูตร “Mindset กับการสื่อสารเพื่องานบริการ”
จุฬาฯ จัดเสวนาวิชาการ “การขนส่งและโลจิสติกส์ไทยในยุคสงครามการค้า”สะท้อนมุมมองการปรับตัวของผู้ประกอบการท่ามกลางบริบทเศรษฐกิจโลกที่ผันผวน
จุฬาฯ ร่วมกับ 6 ชุมชนบางขุนเทียน จัด “เทศกาลฟาร์มทะเลกรุงเทพ” ต้นแบบกิจกรรมพัฒนาชุมชน สู่เศรษฐกิจสีเขียวอย่างยั่งยืน
จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย จากการจัดอันดับโดย THE Asia University Rankings 2025
นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับรางวัล Best Poster Award การประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่มาเลเซีย
สถาบันวิชาการเพื่อความยั่งยืนทางสุขภาพจิต (TIMS) คณะจิตวิทยา จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการเพื่อความยั่งยืนทางสุขภาพจิต
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้