รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
30 ตุลาคม 2567
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
นิสิตคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คว้าเหรียญเงินจากเวที IGEM 2024 Grand Jamboree – The World Expo of Synthetic Biology ซึ่งเป็นงานนวัตกรรมทางชีววิทยาสังเคราะห์ (synthesis biology) ที่ใหญ่ที่สุด มีจำนวนผู้เข้าแข่งขัน 9,507 คน จาก 410 ทีม ใน 48 ประเทศ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23 – 26 ตุลาคม 2567 ณ Paris Expo Porte de Versailles กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยทีมจุฬาฯ เข้าร่วมการแข่งขันรายการนี้เป็นครั้งแรกในหมวด Software and AI
นิสิตคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ที่คว้าเหรียญเงินจากงาน IGEM 2024 Grand Jamboree – The World Expo of Synthetic Biology ประกอบด้วย
– นายอติกันต์ หวลเจริญทนต์ นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
– นายวิภู เศรษฐวงศ์ นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
– นายณัฐชนน รอดอาวุธ นิสิตชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
– นางสาวอิสสริยา อิสริยะวาณิช นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
– นายพิตรพิบูล ลักษณ์ศิริ นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
– นายธีรภาส อภินันท์กูล นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
– นายธีร์จุฑา ศรีวรานนท์ นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
– นายศุภชาต ศรีหะรัญ นักเรียนโรงเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ
ร่วมด้วยนายกิตติพศ แสงสาย Product Manager ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช (AIMET) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมในทีม
โดยมี รศ.ดร.พญ.โสฬพัทธ์ เหมรัญช์โรจน์รองคณบดีฝ่ายนวัตกรรมแนวบูรณาการและเทคโนโลยีดิจิทัล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เป็นหัวหน้าทีม และอาจารย์ที่ปรึกษา
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับภาคีเครือข่ายจัดงาน “Laฬ Square มหกรรมกฎหมาย เครือข่ายนิติจุฬาฯ สู่สังคม” ยกกฎหมายมาไว้กลางสยาม ให้บริการวิชาการแก่สังคมและประชาชน
จุฬาฯ จับมือบริษัท ธิงค์ อาร์ เค จำกัด เปิดตัวโครงการ Chula X VendWeGo® นำเทคโนโลยีดิจิทัลครบวงจรผสานกับปัญญาประดิษฐ์ผ่านจอ VendWeGo® เชื่อมโยงพื้นที่สยามสแควร์ สามย่าน สวนหลวง พื้นที่ต้นแบบนวัตกรรมดิจิทัลสู่อนาคตเมืองอัจฉริยะ
พิธีเปิด-ปิดการแข่งขันกีฬาบุคลากรจุฬาฯ ครั้งที่ 45 ประจำปี 2568 ยิ่งใหญ่ ประทับใจ รวมพลังชาวจุฬาฯ ร่วมกิจกรรมกีฬาเพื่อสุขภาพ
นายกสภาจุฬาฯ เป็นประธานในพิธีจุดไฟฤกษ์ พิธีเปิด-ปิดกีฬาบุคลากรจุฬาฯ ครั้งที่ 45 ประจำปี 2568 ณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล
เชิญชวนชาวจุฬาฯ ร่วมพิธีเปิด-ปิดการแข่งขันกีฬาภายในของบุคลากรจุฬาฯ 14 มี.ค. 2568 ณ สนามกีฬาจุฬาฯ
14 มีนาคม 2568
ณ สนามกีฬาจุฬาฯ
รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “108 ปี จามจุรีประดับใจ”
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด
คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้