รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
6 พฤศจิกายน 2567
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีกับนางสาวณัฐชลินท์ เคนถาวร นิสิตชั้นปีที่ 4 ภาควิชาการธนาคารและการเงิน คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขัน Hackathon โครงการ Siriraj x MIT Hacking Medicine ในหัวข้อ “Scaling Aged Care in Developing Countries” ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2567 ณ โรงพยาบาลศิริราช นางสาวณัฐชลินท์ได้ Golden Ticket เข้าร่วมการแข่งขันระดับโลก MIT Grand Hack 2025 ที่เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ในเดือนมีนาคม 2568
การแข่งขัน Hackathon โครงการ Siriraj x MIT Hacking Medicine จัดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กับ Massachusetts Institute of Technology (MIT) สหรัฐอเมริกา มีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการแก้ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุของกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยโจทย์ในการแก้ปัญหา ได้แก่ “Aging in Place” และ “Geriatric Care” ซึ่ง น.ส.ณัฐชลินท์ได้แสดงความสามารถที่โดดเด่นในการพัฒนานวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุจนได้รับรางวัลในครั้งนี้
จุฬาฯ ร่วมพิธีวางพุ่มดอกไม้ถวายสักการะสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงและร่วมตักบาตร เนื่องในโอกาสวันสถาปนาสภากาชาดไทยครบรอบ 132 ปี
จุฬาฯ จัดกิจกรรม “บุญสุนทาน” ตักบาตรพระสงฆ์ ที่เรือนไทยจุฬาฯ
“Nano-herbs dental care spray” สเปรย์สมุนไพรรักษาโรคปริทันต์สำหรับสุนัข ผลงานนักวิจัยคณะสัตวแพทย์ จุฬาฯ คว้ารางวัลการประกวดนวัตกรรมระดับนานาชาติที่สวิตเซอร์แลนด์
ศศินทร์-SCGC จุดประกายสตาร์ตอัป สร้างอิมแพค พลิกโลกธุรกิจ สู่ความยั่งยืน บนเวที Bangkok Business Challenge 2025 – Growing Impactful Ventures
เสวนา “ถอดรหัสความสำเร็จ 100 ปีของการตลาดญี่ปุ่น สู่แนวคิด ZEN Marketing ที่ยั่งยืน”
งาน “ใต้ร่มพระบารมี 243 ปี กรุงรัตนโกสินทร์” ณ อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ กระทรวงวัฒนธรรมนำการแสดง ศิลปะ อาหาร จัดแสดงอย่างยิ่งใหญ่
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้