รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
21 มิถุนายน 2562
ข่าวเด่น
จากการที่ต้นจามจุรี 1 ใน 5 ต้นที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรได้ทรงปลูกไว้ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อปี พ.ศ.2505 ได้ล้มลง หลังพายุฝนกระหน่ำอย่างหนักเมื่อวันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน 2562
ทางสำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้สำรวจและตรวจหาสาเหตุการโค่นล้มลงของต้นจามจุรี ด้วยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ กรมป่าไม้ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ พบว่าสาเหตุหลักที่ทำให้ต้นจามจุรีโค่นล้มลงเกิดจากรากบางตำแหน่งไม่แข็งแรงเท่าที่ควร ไม่สามารถรับน้ำหนักได้ เนื่องจากต้นจามจุรีเป็นไม้เนื้ออ่อน และมีอายุกว่า 57 ปีแล้ว ประกอบกับความไม่เอื้ออำนวยของลักษณะพื้นที่ในบริเวณนั้น และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูพืชในระดับใต้ดินที่มองไม่เห็น
นอกจากนี้ จากการสำรวจความสมบูรณ์ของต้นจามจุรีทรงปลูกจำนวน 4 ต้นที่ยังเหลืออยู่พบว่าบางต้นเริ่มมีปัญหาเรื่องความแข็งแรง สำหรับแนวทางการแก้ปัญหา ระยะแรกจะทำการฟื้นฟูสภาพต้นจามจุรี โดยการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ จากเดิมที่เป็นพื้นคอนกรีต เปลี่ยนเป็นการเพิ่มพื้นที่หน้าดินให้มากขึ้น ระยะที่สอง จะฟื้นฟูระบบราก โดยการเปิดหน้าดินให้รากมีโอกาสเจริญเติบโตได้อย่างอิสระโดยให้สารอาหารที่จะบำรุงรากต้นจามจุรี ควบคู่กับการค้ำยันกิ่งก้านและลำต้นด้วยวัสดุที่มั่นคงและทนทาน เพื่อเสริมความแข็งแรง ระยะที่สาม ตัดแต่งลดพุ่มกว้างของต้นไม้โดยรอบ เพื่อเปิดพื้นที่ให้จามจุรีทั้งสี่ต้นนี้สามารถขยายกิ่งก้านสาขาออกได้เต็มที่ และในระยะที่สี่ หลังจากตรวจสอบว่ารากสมบูรณ์แข็งแรงแล้ว จะดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกหญ้าในพื้นที่บริเวณดังกล่าวให้เป็นสนามหญ้าโดยสมบูรณ์ต่อไป
นิสิตบัญชี จุฬาฯ คว้ารางวัลจากการแข่งขันกรณีศึกษาทางบัญชีระดับประเทศ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2567
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ เชิญฟังการบรรยายพิเศษ 2 หัวข้อในโครงการ “Architecture and Design for Society Lecture Series AY2024”
นวัตกรรมจากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2567 สาขาบริการภาครัฐ ระดับดีเด่น ประเภทนวัตกรรมการบริการ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จัดโครงการ “พุทธศิลป์ พุทธศึกษา จากพระพุทธปฏิมาสู่การอนุรักษ์”
ศศินทร์ เสริมทักษะนักลงทุนให้นิสิตด้วย TradingView
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เชิญชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ “แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ 2515”
23 กันยายน - 8 พฤศจิกายน 2567
ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้