รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
3 ธันวาคม 2567
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ, ภาพข่าว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีกับนายคณาธิป จงมีความสุข และ น.ส.ชุติพร ชาญณรงค์ นิสิตคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ชั้นปีที่ 6 ได้รับพระราชทานทุน “โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล” ประจำปี 2567 จากมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์
งานแถลงผลการตัดสินผู้ได้รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2567 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2567 ณ ห้องจุฬาภรณ์ ตึกสยามินทร์ ชั้น 2 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานวิจัยอันโดดเด่นของนิสิตแพทย์จุฬาฯ ที่ได้รับพระราชทานทุน “โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล” ประจำปี 2567 เป็นผลงานวิจัยด้านสุขภาพสมองที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาวิทยาการทางการแพทย์เพื่อสังคมไทยและระดับนานาชาติ ดังนี้
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล มีเป้าหมายในการส่งเสริมเยาวชนที่รักและมุ่งมั่นในวิชาชีพแพทย์ให้ดำเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก โดยผู้ได้รับทุนจะมีโอกาสไปปฏิบัติงานในต่างประเทศหรือในประเทศเป็นเวลา 1 ปี พร้อมการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
จุฬาฯ ร่วมมือ ช่อง 7HD สร้างสรรค์สื่อเพื่อการศึกษาและสังคมยั่งยืน
รพ.จุฬาลงกรณ์จับมือสภากาชาดไทย เปิดตัว “Check PD” แอปพลิเคชันตรวจหาความเสี่ยงเป็นพาร์กินสัน แม่นยำถึง 90%
จุฬาฯ จัดงาน Chula the Impact ครั้งที่ 29 “Chula-KBTG: AI for the Future” พร้อมลงนาม MOU ร่วมกับ KBTG เปิดตัวระบบ AI LUCA และ Virtual Patient
อธิการบดีจุฬาฯ ประธาน ทปอ. ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งกรรมการอำนวยการสำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
พิธีเปิดหลักสูตร TOP Green รุ่นที่ 1 จุฬาฯ ร่วมกับองค์กรพันธมิตรจัดหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านความยั่งยืน
“Barter System Fair ตลาดนัด-แลก-พบ” ครั้งที่ 2 Chula Zero Waste ชวนแลกเปลี่ยนแบ่งปันสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้