รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
21 เมษายน 2568
Featured News
รำลึกถึงวาระประวัติศาสตร์แห่งพระเมตตาในการเสด็จเยือนจุฬาฯ พ.ศ. 2562
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความอาลัยอย่างสุดซึ้ง ต่อการสิ้นพระชนม์ของ สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสผู้นำทางจิตวิญญาณของชาวคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และบุคคลสำคัญผู้ส่งเสริมสันติภาพ ความเข้าใจ และความเมตตาในระดับโลก
เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับเกียรติอย่างยิ่งในการต้อนรับสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสในการเสด็จเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ พระองค์ได้ทรงกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ “การสร้างสะพานแห่งสันติภาพและความเข้าใจ” ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยทรงเน้นย้ำถึงความสำคัญของการเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การส่งเสริมความเข้าใจระหว่างศาสนา และการร่วมมือกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของมวลมนุษยชาติ https://www.chula.ac.th/news/25376/
พระองค์ทรงมีพระดำรัสว่า “ถึงเวลาแล้วที่เราจะกล้าจินตนาการถึงตรรกะแห่งการพบปะและการสนทนาเป็นหนทาง ความร่วมมือร่วมกันเป็นแนวทาง และความรู้ซึ่งกันและกันเป็นวิธีการและมาตรฐาน”
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอรำลึกถึงพระเมตตาและพระปรีชาญาณของพระองค์ ด้วยความเคารพและสำนึกในพระกรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้
ด้วยความอาลัยอย่างยิ่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นักวิจัยจุฬาฯ ร่วมคณะสำรวจ “แอนตาร์กติก” บนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
ผู้บริหารจุฬาฯ ต้อนรับอธิการบดี Tohoku University ประเทศญี่ปุ่น หารือความร่วมมือทางวิชาการ
จุฬาฯ เชิญร่วมงาน President’s Distinguished Speaker ครั้งที่ 4 “From Turbulence to Triumph: การบินไทย จากฟื้นฟูสู่พุ่งทะยาน”
29 พฤษภาคม 2568 เวลา 13.00-16.00 น.
Facebook Live
ผู้แทนจาก Ohio University สหรัฐอเมริกาหารือการขยายความร่วมมือกับจุฬาฯ
สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับ สสส. เปิดตัวนวัตกรรม “น้องเคยมาเท่าไหร่” และ “ตามสั่ง-ตามส่ง” พร้อมให้ใช้งานแล้วทั่วประเทศ
อันตราย! ระวังอย่าหลงเชื่ออีเมล “ปลอม”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้