รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
22 มกราคม 2564
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
ศูนย์เทคโนโลยีและวิศวกรรมเพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green-economy Technology & Engineering Center หรือ BCGeTEC) ร่วมกับ Chulalongkorn University Technology Center (UTC) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และสำนักบริหารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญคณาจารย์ นักวิจัย และนิสิตจุฬาฯ ร่วมฟังการบรรยายออนไลน์เรื่อง “ความรู้พื้นฐานด้านทรัพย์สินทางปัญญาและการวิเคราะห์ข้อมูลสิทธิบัตร” โดย รศ.ดร.บุญรัตน์ โล่วงศ์วัฒน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากร
วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 – 15.00 น. หัวข้อ “ความรู้พื้นฐานด้านทรัพย์สินทางปัญญา” (Introduction to Intellectual Property) หาคำตอบว่าทำไมบริษัทใหญ่ๆทั่วโลก อาจารย์นักวิจัย และ Startups จึงเน้นการพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา ?
วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 – 15.00 น. หัวข้อ “การวิเคราะห์ข้อมูลสิทธิบัตร” (Patent Landscape) รวมทั้งเรื่องการวางแผน ทรัพย์สินทางปัญญา
คณาจารย์ นักวิจัยและนิสิตจุฬาฯ ที่สนใจสามารถลงทะเบียนได้ที่https://forms.gle/8FWPdSkhJHRfy3wo6 หรือสแกนคิวอาร์โค้ดด้านล่างโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
ส.ค.ส. ออนไลน์ จุฬาฯ สวัสดีปีใหม่ 2567 Innovations for Society
เชิญร่วมงานเทศกาลท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ยามค่ำคืน Night at the Museum @ Chula มหัศจรรย์ความรู้เกี่ยวกับ “ช้าง”
15 – 17 ธันวาคม 2566 เวลา 16.00 - 22.00 น.
พิพิธภัณฑ์ในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
ลุ้นรางวัลและร่วมกันส่งพลังสร้างจุฬาฯ ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่ใส่ใจจริยธรรม
สถาปัตย์ จุฬาฯ เชิญชมนิทรรศการ Berlin-Prague-Vienna: The post-trip photo exhibition
2-9 ธันวาคม 2566
ห้องสมุดคณะสถาปัตย์ จุฬาฯ
เสวนาวิชาการและชมศิลปกรรม“พุทธศิลป์พระเชตุพน” เนื่องในงานวันกรมพระปรมานุชิตชิโนรส พ.ศ.2566
11 ธ.ค. 66
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ปาฐกถา Chulalongkorn University BRIDGES Nobel Laureate Talk Series ครั้งที่ 1 โดยผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้