รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
17 กุมภาพันธ์ 2564
ภาพข่าว
เมื่อวันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ชั้น 7 อาคาร 60 ปีสัตวแพทยศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผู้สื่อข่าวรายการ “สุขหยุดโรค” ทางสถานีโทรทัศน์ TNN สัมภาษณ์ อ.ดร.ธีรพงศ์ ยะทา หน่วยชีวเคมี ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่องผลงานวิจัย “หุ่นยนต์ชีวภาพนำส่งสารสกัดจากสมุนไพรไทย” ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่สามารถกำหนดเวลาปลดล็อกโพลิเมอร์ที่ห่อหุ้มผิวนอกของอาหารได้เพื่อให้ผนังลำไส้ดูดซึมสารอาหารหรือตัวยาสำคัญที่ต้องการให้ร่างกายได้รับ ลดการสูญเสียคุณค่าทางอาหารระหว่างกระบวนการย่อยที่สารอาหารอาจถูกทำลายด้วยกรดในกระเพาะอาหาร วัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นหุ่นยนต์ชีวภาพผลิตจากโพลิเมอร์ธรรมชาติ ได้แก่ สาหร่ายทะเล เปลือกกุ้ง ปู ซึ่งราคาไม่แพง ปลอดภัยต่อร่างกายมนุษย์และสัตว์ รวมถึงสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ส่วนผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ใช้ในการห่อหุ้ม ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สารสกัดจากขมิ้นชัน ใบบัวบก งาดำ และถั่งเช่า ซึ่งร่างกายสามารถดูดซึมส่วนเคลือบสมุนไพรนาโนนี้เข้าสู่ระบบหมุนเวียนโลหิตได้ ปัจจุบันจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จดสิทธิบัตร “หุ่นยนต์ชีวภาพนำส่งสารสกัดจากสมุนไพรไทย” กับกรมทรัพย์สินทางปัญญาเรียบร้อยแล้ว
ความภูมิใจของบัณฑิตจุฬาฯ ในวันรับปริญญาอันน่าภาคภูมิ
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ รับสมัครเข้าศึกษาต่อปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายเศรษฐกิจ
เสวนาแนวทางการลงทุนอย่างยั่งยืน “ทางเลือก! ทางรอด! หลังวิกฤติ COVID กับโอกาสการลงทุนในกองทุนต่างประเทศ”
2 พ.ค. 65 เวลา 13.00 น.
Zoom
เชิญส่งบทความวิชาการเพื่อนำเสนอใน การประชุมนิติวิชาการระดับชาติ “กฎหมายกับการพัฒนาที่ยั่งยืน” ครั้งที่ 1
20 กรกฎาคม 2565 เวลา 09.00 น. - 16.00 น.
เชิญเข้าร่วมอบรม “การใช้งานระบบการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการออนไลน์”
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเป็นประธานการสัมมนา “รักษ์ป่าน่าน” ครั้งที่ 5
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย