รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
22 กุมภาพันธ์ 2564
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุม ชั้น 8 กระทรวงวัฒนธรรม นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการส่งเสริมวัฒนธรรมหนังสือและระบบหนังสือของประเทศไทย ระหว่างกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม มูลนิธิวิชาหนังสือ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ โอกาสนี้ นายชาย นครชัย อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ศ.ดร.จักรพันธ์ สุทธิรัตน์ รองอธิการบดีด้านการวิจัย จุฬาฯ นายมกุฏ อรฤดี เลขานุการมูลนิธิวิชาหนังสือ ร่วมแถลงข่าวถึงความร่วมมือในครั้งนี้
ศ.ดร.จักรพันธุ์ สุทธิรัตน์ รองอธิการบดีด้านการวิจัย จุฬาฯ กล่าวถึงบทบาทและแนวทางความร่วมมือของจุฬาฯ ว่า ภายใต้วิสัยทัศน์ “ผู้นำการสร้างสรรค์องค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อสร้างเสริมสังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพันธกิจในการสร้างและพัฒนาคน สร้างวัฒนธรรม การเรียนรู้ตลอดชีวิต เพิ่มความร่วมมือเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน การพัฒนาคุณภาพของคนไทยให้สามารถแข่งขันในระดับโลกได้ จำเป็นต้องสร้างวัฒนธรรมหนังสือ เพื่อสร้างคุณภาพคนไทยให้มีความรู้และจินตนาการที่ทันยุคสมัย พร้อมจะแข่งขันในเวทีโลก เนื่องด้วยการอ่านสร้างองค์ความรู้ นำไปสู่การคิดต่อยอด การพัฒนา และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง หนังสือสามารถสร้างคุณภาพคนและสร้างพื้นฐานที่ดีของชาติได้ แม้ในปัจจุบันบทบาทของหนังสือ สิ่งพิมพ์ จะลดลง แต่การอ่านยังคงเป็นปัจจัยสำคัญและเป็นกลไกในการขับเคลื่อนพัฒนาการของสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงมีความยินดีที่จะให้การสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาวัฒนธรรมหนังสือและระบบหนังสือของประเทศไทย งานวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ และหวังว่าความร่วมมือการส่งเสริมวัฒนธรรมหนังสือ และระบบหนังสือของประเทศไทยในครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นและส่งผลกระทบในวงกว้างให้วัฒนธรรมหนังสือและระบบหนังสือเกิดขึ้นอย่างแท้จริงในสังคมไทยต่อไป
อาจารย์และนิสิตสถาปัตย์ จุฬาฯ ร่วม Workshop กับอาจารย์และนักศึกษา Tokyo Metropolitan University ที่ญี่ปุ่น
อาจารย์และนิสิตภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วม Workshop กับอาจารย์และนักศึกษาจาก Faculty of Urban Environmental Sciences, Tokyo Metropolitan University ประเทศญี่ปุ่น (TMU)
จุฬาฯ ร่วมพิธีวางพวงมาลาถวายสักการะและจัดพิธีบำเพ็ญกุศลอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเนื่องใน “วันนวมินทรมหาราช”
ละครนิเทศจุฬาฯ 2567 “ด้ายแดงเป็นเหตุ Unfortunate Love”
24 - 26 มกราคม 2568
ณ โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ ชั้น 7 อาคารสยามสแควร์
จุฬาฯ ต้อนรับคณะศึกษาดูงานด้านการบริหารความเสี่ยงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แบ่งปันประสบการณ์การพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมเรื่อง “กัญชาทางการแพทย์: ความรู้ที่ต้องมีสำหรับเภสัชกรยุคใหม่”
11 ธ.ค. 67 เวลา 09.00 – 12.15 น.
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ และ Zoom
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมโครงการ “Next-Gen Arts: พัฒนาศักยภาพครูศิลปะด้วย Soft Power”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้