รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
19 พฤษภาคม 2564
ข่าวเด่น
จุฬาฯ ตอบทุกคำถาม: ควรฉีดวัคซีนไหม? วัคซีนป้องกันได้แค่ไหน? รอคนอื่นฉีดเราไม่ต้องฉีด ก็ได้ใช่หรือไม่? วัคซีนจุฬาฯ ถึงไหนแล้ว? ฯลฯ
ไขข้อข้องใจโดย ศ.นพ.ดร.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล รองอธิการบดี จุฬาฯ ประธานคณะกรรมการอำนวยการโครงการจัดบริการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 แก่ประชาชนในนามจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (โครงการ CU VP) ดำเนินรายการโดย ฟรัง นรีกุล เกตุประภากร นิสิตคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
Q: โครงการ CU VP คืออะไร?A: โครงการจัดบริการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้แก่ประชาชนในนามของจุฬาฯ
Q: ฉีดวัคซีนโควิด-19 ดีจริงหรือไม่?A: การฉีดวัคซีนจะช่วยป้องกันไม่ให้ติดโควิด-19 หรือถ้าติดก็จะไม่มีอาการรุนแรง และช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อในวงกว้างได้
Q: เมื่อฉีดวัคซีนแล้วสามารถป้องกันโรคได้แน่นอน ไม่ต้องระวัง จริงหรือ?A: การฉีดวัคซีนเป็นเพียงอีกกลยุทธ์หนึ่งเท่านั้น การใส่หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่าง ล้างมือให้สะอาด ยังเป็นสิ่งที่ละเลยไม่ได้
Q: ฉีดวัคซีนแล้วอันตราย เกิดผลข้างเคียงหรือไม่?A: จากข้อมูลผลข้างเคียงพบไม่เกิน 10% ซึ่งโอกาสน้อยมาก แต่หากไม่ฉีดวัคซีนจะมีโอกาสติดเชื้อสูง อย่างไรก็ตามประโยชน์ของการฉีดวัคซีนมีมากกว่าผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
Q: คนฉีดวัคซีนเยอะแล้ว เราไม่ต้องฉีดก็ได้ จริงหรือ?A: การจะเกิดภูมิคุ้มกันหมู่จะต้องฉีดวัคซีนไปแล้ว 70% ซึ่งต้องใช้เวลาอีกหลายปี หากรอจะทำให้มีความเสี่ยงมากกว่า
Q: ถ้ามีสิทธิ์ฉีดวัคซีนแล้ว ควรฉีดเลยหรือไม่?A: ควรอย่างยิ่ง ไม่ว่าวัคซีนตัวไหนก็สามารถป้องกันความรุนแรงและป้องกันการเสียชีวิตได้ใกล้เคียงกัน
Q: วัคซีนจุฬาฯ คืบหน้าถึงไหนแล้ว?A: วัคซีนทั้งสองตัวที่พัฒนาโดยจุฬาฯ อยู่ในขั้นทดลองในเฟส 1 2 และ 3 ซึ่งพบผลการป้องกันสูง และคาดว่าจะได้นำมาใช้จริงในช่วงไตรมาสที่ 1 หรือ 2 ของปี 2565
ชมคลิปเต็มได้ที่ https://youtu.be/jLa451d7JUE
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ เชิญฟังการบรรยายพิเศษ 2 หัวข้อในโครงการ “Architecture and Design for Society Lecture Series AY2024”
นวัตกรรมจากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2567 สาขาบริการภาครัฐ ระดับดีเด่น ประเภทนวัตกรรมการบริการ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จัดโครงการ “พุทธศิลป์ พุทธศึกษา จากพระพุทธปฏิมาสู่การอนุรักษ์”
ศศินทร์ เสริมทักษะนักลงทุนให้นิสิตด้วย TradingView
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เชิญชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ “แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ 2515”
23 กันยายน - 8 พฤศจิกายน 2567
ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมบริจาคโลหิต โครงการ “MDCU Give Blood for All”
30 ก.ย. - 4 ต.ค. 67
ลานอเนกประสงค์ อาคารอานันทมหิดล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้