รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
10 มิถุนายน 2564
ข่าวเด่น
รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ผ่านคลิปประชาสัมพันธ์เรื่อง “วัคซีน ไม่รู้ไม่ได้แล้ว”
สรุปได้ว่า วัคซีนไม่ใช่ยา แต่วัคซีนจะเข้าไปกระตุ้นกลไกในร่างกายให้เตรียมความพร้อมต่อต้านเชื้อโรคที่รุกรานเข้ามา ซึ่งเป็นเหตุผลที่เราต้องฉีดวัคซีน ผู้นับถือศาสนาอิสลาม (มุสลิม) สามารถฉีดวัคซีนได้ กระบวนการผลิตวัคซีนไม่ต่างจากการปลูกผัก ที่ตอนปลูกอาจจะใช้ปุ๋ยมูลวัว มูลแกะ แต่เมื่อผักเจริญเติบโตเราก็สามารถรับประทานผักได้ วัคซีนก็เช่นเดียวกัน เอนไซม์ที่ใช้ในการผลิตวัคซีนจะไม่ทำให้มีปัญหาเรื่องฮาลาล
อีกทั้งยังคลายความกังวลเรื่องโอกาสเสี่ยงในการเสียชีวิตจากวัคซีนว่า มีโอกาสน้อยมาก โอกาสเสี่ยงในการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในชีวิตประจำวันยังมีมากกว่า
รศ.ดร.วินัย ได้อธิบายถึงข้อแตกต่างของวัคซีน Sinovac และ AstarZeneca ว่าผลิตจากเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน โดย Sinovac ถูกผลิตจากเชื้อตาย ส่วน AsterZeneca ถูกผลิตด้วยเทคโนโลยีที่เรียกว่า “Vector” เช่นเดียวกับวัคซีน Sputnik V ของรัสเซีย ซึ่งเป็นการเลี้ยงเชื้อในไวรัสที่ไม่ก่ออันตราย เทคโนโลยีนี้เป็นที่ยอมรับสูง เนื่องจากอัตราเสี่ยงและอันตรายมีน้อย ที่ผ่านมายังไม่มีข้อมูลมากพอสำหรับประสิทธิภาพการป้องกันการแพร่เชื้อหลังฉีดวัคซีน แต่จากสถิติที่ผ่านมา มั่นใจได้ว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแล้วหากติดเชื้อจะไม่เป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต
รับชมคลิปการให้ความรู้เรื่องวัคซีนได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=84EGESMDu2s
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเยี่ยมชมศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ชื่นชมความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมฮาลาล
สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ร่วมมือ สสส. – พม. สานพลังภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนงานคนไร้บ้าน
โครงการ Dogcoola กิจกรรมดี ๆ ที่สร้างสรรค์โดยนิสิตสัตวแพทย์ จุฬาฯ เชิญชวนบริจาคโลหิตช่วยชีวิตคนและส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์
นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดการประชุมวิชาการนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ 24 Public Health 360: From Policy to Practice
เชิญร่วมกิจกรรม Chula Lunch Talk : GenAI x งานวิจัย: 1 ปี ที่เปลี่ยนไป! ความท้าทายใหม่ ที่นักวิจัยต้องรู้
CU Top 10 News กรกฎาคม – กันยายน 2567
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด
คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้