รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
13 กันยายน 2564
นวัตกรรม”อุปกรณ์ตรวจวินิจฉัยภาวะเยื่อบุมดลูกอักเสบในโค” (Metrisure) โดยคณะผู้วิจัยจากศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเลี้ยงโคนมในเขตร้อนชื้น (Tropical Dairy Research Center: TDRC) คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ประกอบด้วย ผศ.น.สพ.ดร.ธีรวัฒน์ สว่างจันทร์อุทัย หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยการเจริญพันธุ์ในสัตว์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU-Animal Fertility Research Unit) ผศ.น.สพ.ดร.ศิริวัฒน์ ทรวดทรง ผศ.สพ.ญ.ศริยา อัศวกาญจน์ น.ส.เกวลิน จำปาสัก น.ส.ณัทชาภา รัตนาภรณ์ น.ส.ทัชช โฆษิตสกุลชัย และ น.ส.นิธิพร คำนาน ได้เข้าร่วมประกวดและจัดแสดงในงานประชุมระดับนานาชาติ IWA 2021 Online Competition ณ ประเทศโมร็อกโก ระหว่างวันที่ 8 – 12 กันยายน 2564 โดยได้รับรางวัล Grand Prize และเหรียญทองจากการประกวดในครั้งนี้ ซึ่งงานดังกล่าว สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ทำหน้าที่ผู้ประสานงานและเสนอชื่อผลงานนวัตกรรมหลักของประเทศไทย
“อุปกรณ์ตรวจวินิจฉัยภาวะเยื่อบุมดลูกอักเสบในโค” ใช้สำหรับตรวจปัญหามดลูกหลังคลอดในโค ครอบคลุมทั้งการวินิจฉัยภาวะเยื่อบุมดลูกอักเสบชนิดแสดงอาการและไม่แสดงอาการ ประกอบด้วยชุดอุปกรณ์สำหรับสอดเข้าไปในมดลูก แถบทดสอบ อุปกรณ์ที่เก็บเซลล์เยื่อบุมดลูก ซึ่งตัวแถบทดสอบสามารถแปลผลได้จากการดูการเปลี่ยนสีของแถบทดสอบ วิธีการตรวจด้วยชุดอุปกรณ์นี้ทำได้สะดวกในฟาร์ม รวดเร็ว รู้ผลได้ทันที
รับชมผลงานนวัตกรรม“Metrisure” ที่ได้รับรางวัลในรูปแบบออนไลน์ได้ที่ https://youtu.be/ofvDFFLnpkQ
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับรางวัลที่ได้รับได้ที่ https://ofeed.tv/iwa-2021-report/
นิสิต BBA จุฬาฯ กวาดรางวัลจากเวทีระดับโลก ASEAN-CHINA-INDIA Youth Leadership Summit 2024
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเยี่ยมชมศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ชื่นชมความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมฮาลาล
สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ร่วมมือ สสส. – พม. สานพลังภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนงานคนไร้บ้าน
โครงการ Dogcoola กิจกรรมดี ๆ ที่สร้างสรรค์โดยนิสิตสัตวแพทย์ จุฬาฯ เชิญชวนบริจาคโลหิตช่วยชีวิตคนและส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์
นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดการประชุมวิชาการนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ 24 Public Health 360: From Policy to Practice
เชิญร่วมกิจกรรม Chula Lunch Talk : GenAI x งานวิจัย: 1 ปี ที่เปลี่ยนไป! ความท้าทายใหม่ ที่นักวิจัยต้องรู้
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้