รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
14 กันยายน 2564
ข่าวเด่น
สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาฯ ให้บริการยืมคืนหนังสือ “ส่งให้ด้วยใจ สู้ภัย COVID-19” เฉพาะนิสิต คณาจารย์ และนักวิจัยจุฬาฯ ระหว่างวันที่ 4 กันยายน – 24 ธันวาคม 2564 โดยมีการให้บริการดังนี้
1.ยืมได้เฉพาะหนังสือของสำนักงานวิทยทรัพยากร ที่มี LOCATION เป็น Central Library และ Thailand and ASEAN Information Center และ STATUS เป็น CHECK SHELVES
2.นิสิต อาจารย์ และบุคลากร สามารถยืมหนังสือได้จำนวน 10 เล่ม ต่อ 1 คน นาน 30 วัน สมาชิกรายปีประเภท ก. สามารถยืมหนังสือได้จำนวน 3 เล่ม นาน 30 วัน
3.หนังสือที่ได้รับการตอบรับ จะจัดส่งหนังสือให้ทางไปรษณีย์แบบ EMS ทุกวันอังคาร และวันศุกร์ โปรดกรอกชื่อและที่อยู่ของผู้รับให้ชัดเจน
4.สำหรับนิสิต คณาจารย์ และนักวิจัยที่พักอาศัยในหอพักจุฬาฯ และ I-House สำนักงานฯ จะติดต่อให้มารับตัวเล่มที่หอสมุดกลาง
5.บริการนี้จะติดต่อกับนิสิต คณาจารย์ และนักวิจัยจุฬาฯ ผ่านช่องทางอีเมลเป็นหลัก โปรดกรอกอีเมลที่ถูกต้องและใช้งานจริง โดยข้อมูลการติดต่อ สำนักงานวิทยทรัพยากรจะใช้เพื่อการให้บริการและจะเก็บรักษาไว้เป็นความลับ
6.หากต้องการคืนก่อนกำหนดส่งให้ส่งคืนได้ที่ Book Drop ของหอสมุดกลาง หรือส่งคืนทางไปรษณีย์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาฯ
โทร.0-2218-2929
website : www.car.chula.ac.th
E-mail : chulalibrary@car.chula.ac.th
Line@ : culibrary Facebook : chulalibrary
เชิญร่วมงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ “108 ปี จามจุรีประดับใจ” 26 มีนาคม 2568
26 มี.ค. 68
สนามหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล
เชิญชาวจุฬาฯ ร่วมงาน “สงกรานต์รวมใจ วิถีไทย จุฬาฯ สืบสานประเพณี”
จุฬาฯ เชิญบุคลากรตรวจสุขภาพประจำปี โดย Walk-in ได้ พิเศษปีนี้เพิ่มตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
สัมมนาวิชาการ “โอกาสทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวของประเทศไทยในคาซัคสถาน”
พิธีเปิดกิจกรรม Enrichment Program for CU รุ่นที่ 2 และกิจกรรมประเมินความสุข (CU Happiness)
มีนาคม - กรกฎาคม 2568
PMCU เปิดโอกาสให้เยาวชนไทยประกวดออกแบบพื้นที่อุทยาน 100 ปีจุฬาฯ ให้เป็นสวนแห่งความสุข ภายใต้แนวคิด CHULA FOR ALL
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้