รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
5 พฤศจิกายน 2564
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
18 พ.ย. 2564 เวลา 10.00 – 12.00 น.
Facebook live
ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมเวทีเสวนาสาธารณะ (Public forum) ครั้งที่ 3 “บทเรียนและความท้าทายของการพัฒนาครูและเด็กนอกระบบการศึกษา” ซึ่งจัดทางออนไลน์ในวันพฤหัสบดีที่ 18 พฤศจิกายน 2564 เวลา 10.00 – 12.00 น. จัดโดยกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) Drop out children story ร่วมกับสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
– ฟังการบรรยายเรื่อง “การเรียนรู้ที่ยืดหยุ่นสำหรับเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา” โดย ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ กรรมการบริหารกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ประธานอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเยาวชนและประชากรวัยแรงงานนอกระบบ กสศ.
– การเสวนา “บทเรียน ความท้าทาย และก้าวต่อไปของการพัฒนาครูและเด็กนอกระบบการศึกษา” โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญร่วมเสวนา
– รศ.ดร.วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน อาจารย์ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ
– อ.อนรรฆ พิทักษ์ธานิน ศูนย์แม่โขงศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ
– ดร.เนตรดาว ยั่งยุบล ผู้ประสานงานเครือข่ายเชิงพื้นที่
– อ.ดร.สุรศักดิ์ เก้าเอี้ยน หน่วยปฏิบัติการวิจัยเพื่อการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน อาจารย์ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ
ดำเนินรายการโดย คุณวิภาพร วัฒนวิทย์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
ผู้สนใจสามารถรับชมได้ผ่านทาง Facebook live
Facebook Page : drop out children story
: กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
: Thai PBS
พิธีเปิดกิจกรรม Enrichment Program for CU รุ่นที่ 2 และกิจกรรมประเมินความสุข (CU Happiness)
มีนาคม - กรกฎาคม 2568
PMCU เปิดโอกาสให้เยาวชนไทยประกวดออกแบบพื้นที่อุทยาน 100 ปีจุฬาฯ ให้เป็นสวนแห่งความสุข ภายใต้แนวคิด CHULA FOR ALL
จุฬาฯ จับมือธนาคารออมสิน เปิดตัวโครงการ “GSB CED 2568” หนุนชุมชนท้องถิ่นพัฒนาสู่ความยั่งยืน
จุฬาฯ จัดการประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่สมาชิก กบข. สิทธิประโยชน์ที่ควรรู้
เชิญร่วมสัมมนาออนไลน์ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ มาตรฐาน CEFR
3 เม.ย. 68
โปรแกรม Zoom
จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย Top ของประเทศ 34 สาขา จัดอันดับโดย QS University Rankings by Subject 2025
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้