รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
23 พฤศจิกายน 2564
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
27 พ.ย. 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น.
Facebook live
งานกาชาดปีนี้ แม้จุฬาฯ ไม่มีการจำหน่ายสลากกาชาดดังเช่นที่ผ่านมา แต่ยังร่วมบำรุงกาชาดได้เช่นเดิม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอเชิญประชาชนทั่วประเทศร่วมบริจาคเงินเพื่อสภากาชาดไทย สนับสนุนการพัฒนาวัคซีน ChulaCov19 วัคซีนชนิด mRNA ความหวังของคนไทยและสังคมโลก
และติดตามชมกิจกรรมพิเศษ “Chula Covid Talk” นวัตกรรมสู้โควิด-19 จากจุฬาฯ เพื่อสังคมไทย ในวันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น.
ทาง Facebook: Chulalongkorn University และ Chula Alumni
พบกับ 8 วิทยากรจากจุฬาฯ
– ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาฯ: Innovations for Society
– ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อำนวยการบริหารโครงการพัฒนาวัคซีน โควิด-19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ: Chula-COV 19 ความหวังไทย ความหวังโลก
– ผศ.ดร.ภญ.สุธีรา เตชคุณวุฒิ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ CEO บริษัทใบยาไฟโตฟาร์มจำกัด: Baiya Vaccine วัคซีนใบยา ทางเลือกที่สดใส
– ศ.นพ.ดร.นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล รองอธิการบดีจุฬาฯ ประธานกรรมการโควิด-19 จุฬาฯ: Chula Model: สู้เพื่อโควิด
– ศ.ดร.สถิรกร พงศ์พานิช คณบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาฯ: บ้านสุขภาพ
– ศ.นพ.ดร.ประวิตร อัศวานนท์ ผู้ช่วยอธิการบดีจุฬาฯ: CU@Home
– ศ.ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ: หลากวิศวนวัตกรรมสู้โควิด
– อธิศีล ธัญญ์ ณ ป้อมเพชร สมาคมนิสิตเก่าจุฬาฯ: กล่องรอดตายและข้าวแสนกล่อง สู้ให้รอด
บริจาคได้ตั้งแต่บัดนี้ – 27 ธันวาคม 2564
บริจาคผ่าน 3 ขั้นตอนง่าย ๆ
1.โอนเงินบัญชี SCB “เงินกาชาด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” เลขที่บัญชี 045-226703-8
2.หากบริจาค 1,000 บาทขึ้นไปกรอกแบบฟอร์มในลิงค์
https://form.jotform.com/213011936076450
3.รอรับใบเสร็จส่งถึงบ้านและได้หักลดหย่อนภาษี 2 เท่า
ศศินทร์เปิดหลักสูตรระยะสั้น Radical Innovation in Family Business: Transforming for the Future
18 - 19 มิถุนายน 2568 เวลา 09.00 - 16.30 น. ศศินทร์
จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “เสว่ยหลง 2 และอนาคต” เสริมความร่วมมือไทย–จีน ด้านการวิจัยขั้วโลกและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร Durham University สหราชอาณาจักร หารือความร่วมมือทางวิชาการ
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมไทย “ตายมากกว่าเกิด”: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้