รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
26 มีนาคม 2561
ข่าวเด่น
กลุ่ม The Grey Matters
ชื่อศิลปิน 1. สภาพร ประดิษฐ์ ( Sapaporn Pradith ) 2. เสกสรรค์ ทุมมัย ( Seksun Toommai ) 3. สิทธิพงศ์ ปานสมทรง ( Sittipong Pansomsong )
แนวความคิดของกลุ่มในการสร้างสรรค์ผลงาน The Grey Matters คือ กลุ่มศิลปินที่ทำงานศิลปะในเทคนิคที่แตกต่างกัน แต่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ การนำเสนอแง่มุมมองทางความคิด ประสบการณ์ จินตนาการ สุนทรียศาสตร์ของสิ่งต่างๆรอบตัว ที่มีผลต่อตัวตน ความคิด การแสดงออกและการดำเนินชีวิตอีกทั้งยังแสดงถึงสิ่งที่มีอิทธิพลต่อความคิดในช่วงเวลาขณะนั้น ความงามที่เราเห็น เสพ ปรุงแต่ง หรือยอมรับเข้ามาในชีวิตนั้น มีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะดีหรือไม่แต่มันก็แสดงให้เห็นถึงตัวของเราอันมีสมองเป็นจุดแรกเริ่มในการรับส่งข้อมูล โดยสมองส่วนเนื้อสีเทาหรือเปลือกสมองชั้นนอก Cerebral cortex (Grey matter) ที่ทำการรับ-ประมวลผล แล้วจึงเชื่อมโยง ส่งสารไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความรู้สึกต่างๆ นำมาซึ่งการแสดงออกทางความคิดและการกระทำ การตระหนักรู้ที่แตกต่างกันในแต่ละคน การได้มองเห็นโลกที่เปลี่ยนแปลง หมุนวนไปอย่างรวดเร็ว ฉาบฉวย ฉาบฝันสิ่งที่คิดว่าจะเติมเต็มหล่อเลี้ยงจิตใจนั้นก็แค่สิ่งที่เดินเข้ามาและสักวันก็จะจากไปและจะเหลือเป็นเพียงแค่สิ่งที่บันทึกถึงสิ่งที่เราเคยเป็นอยู่หรือเคยกระทำ เราได้สร้างศิลปะเพื่อพิจารณาถึงตัวเองกับความคิดเหล่านั้น และเรียนรู้จากมัน
จุฬาฯ จับมือสมาคมกีฬาเเบดมินตันเเห่งประเทศไทยฯ ร่วมมือทางวิชาการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางวิทยาศาสตร์การกีฬาสู่ความเป็นเลิศในการพัฒนานักกีฬาแบดมินตันทีมชาติไทย
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ จับมือภาคีเครือข่ายเปิดค่ายภาพยนตร์และหลักสูตรออนไลน์ เสริมพลัง Soft Power ไทย
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ จัดเวิร์กช็อป “รัก ร้อง เล่น ตัดปะ: วรรณคดีไทยสร้างสรรค์ กับการสรร(ค์)สร้างการเรียนรู้”
13-15 พฤษภาคม 2568 เวลา 10.00-16.00 น.
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
อธิการบดีจุฬาฯ ประธาน ทปอ. เป็นประธานการประชุมสามัญ ทปอ. และสมาคม ทปอ. ครั้งที่ 2/2568 และการประชุมสามัญ สออ.ประเทศไทย ครั้งที่ 1/2568
เชิญร่วมงาน iCAF 2025 งานแฟร์ครบรอบ 20 ปีหลักสูตรนานาชาตินิเทศศาสตร์ จุฬาฯ
เชิญร่วมงานเสวนาวิชาการ หลักสูตร ZEN “ถอดรหัสการตลาดแบบญี่ปุ่น: ความลับเบื้องหลังความสำเร็จอย่างยั่งยืนตลอด 100 ปี”
24 เมษายน 2568 เวลา 13.00 - 15.30 น. ห้อง CBS Cinema อาคารไชยยศสมบัติ 1 ชั้น 3 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้