รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
29 มีนาคม 2565
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
ผู้เขียน เมธาพร ไตรกิจวัฒนกุล
ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล (FAAMAI Digital Arts Hub) ร่วมกับฝ่ายการศึกษา หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเยาวชน : Kid’s Calendar 2022 ตอน บ้านน้อย (The Little House) ในวันเสาร์ที่ 9 เมษายน 2565 เวลา 14.00 – 16.00 น. ณ ห้อง Friends of BACC ชั้น 6 หอศิลปกรุงเทพฯ
กิจกรรมนี้เปิดโอกาสให้เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับนิทรรศการผ่านการเล่านิทานและเชื่อมโยงเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality : AR) เน้นฝึกการสังเกต คิดวิเคราะห์ และถ่ายทอดความรู้สึกต่อสิ่งที่พบจากนิทรรศการ รวมถึงการเรียนศิลปะจากโลกเสมือนจริงซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นำเอาภาพเสมือน 3 มิติจำลอง เข้าสู่โลกจริง ผ่านกล้องและมีการประมวลผลโดยการทำให้วัตถุ 3 มิติ (ภาพเสมือน) ทับซ้อนเข้ากันกับภาพจริงเป็นภาพเดียว โดยสามารถมองผ่านกล้องได้โดยตรง สามารถชมภาพเสมือนจริงผ่านเลนส์สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต พร้อมทั้งถ่ายทอดสิ่งที่พบเห็นออกมาเป็นผลงานศิลปะในแบบฉบับของตัวเอง
– รับสมัครน้องๆ เข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คน และแจ้งผลการลงทะเบียนผ่านอีเมล
– กิจกรรมเหมาะสำหรับเยาวชนอายุ 7 – 15 ปี และไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานด้านศิลปะมาก่อน
– นำโทรศัพท์รุ่นสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตมาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
สมัครเข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายที่ Email: education@bacc.or.th โดยแจ้งชื่อ – นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์ และหัวเรื่อง Kid’s Calendar 2022 ตอน บ้านน้อย (The Little House)
อธิการบดีจุฬาฯ รับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริฯ ในพิธีต้อนรับเรือเสว่ยหลง 2 เยือนประเทศไทย
นักวิจัยจุฬาฯ ตัวแทนไทยร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมนักจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในองค์กร
บริษัทจำลองจุฬาฯ 2025 เปิดโครงการฝึกงานนิสิตภาคฤดูร้อน ภายใต้ปณิธาน “ทำงานด้วยใจ คืนกำไรสู่สังคม”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้