รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
4 กรกฎาคม 2565
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
ผู้เขียน เมธาพร ไตรกิจวัฒนกุล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีกับทีมนิสิตชมรมซียูฮาร์ (Chulalongkorn University High Altitude Research Club – CUHAR) จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หลักสูตรนานาชาติ (ISE) สาขาวิศวกรรมอากาศยาน (Aerospace Engineering) เป็นตัวแทนประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียทีมแรกในประวัติศาสตร์ เข้าร่วมการแข่งขันวิศวกรรมจรวดระดับอุดมศึกษาที่ใหญ่ที่สุดในโลก “Spaceport America Cup 2022” ณ เมือง Las Cruces รัฐนิวเม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ Dr.Gil Moore Award ด้านความเป็นเลิศแห่งนวัตกรรมการออกแบบจรวดความเร็วเสียง โดยได้รับรางวัลร่วมกับทีมจาก Cornell University, USA และ University of Leeds, UK
นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หลักสูตรนานาชาติ สาขาวิศวกรรมอากาศยาน รุ่นที่ 15 ประกอบด้วย
นายภูวิศ เชาวนปรีชานายพีรวิชญ์ จิระคุณากรนายนิธิพจน์ สืบพานิชนายกฤตนุ หงษ์วิหคนางสาวพรธีตรา รัตนพันธุ์ศรีนางสาวรชยา ดีเลิศกุลชัยนายพศิน มนัสปิยะนายภวินท์ กฤติยานิธินายภูวนัฏฐ์ พัทระฐวินันนายณภัทร พรถาวรวิทยานายตฤณ อุทัยสางนายรัชกฤช ศีลสัตย์นายธนกฤต มาลีสุทธิ์นายสิริวัชร์ สิริรัตนชัยกุล
ติดตามเรื่องราวและผลงานที่น่าภาคภูมิใจของนิสิตจุฬาฯ ทีม CUHAR ได้ที่ https://www.facebook.com/cu.highaltitude/
การเปิด – ปิดประตูจุฬาฯ และการจัดการจราจรในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2565
โปรโมชั่นฉลองเทศกาลรับปริญญาจุฬาฯ GRADUATION GIFTS 2023
“โคม คราฟท์: นวัตกรรมศิลปะพื้นบ้าน เพื่อการตกแต่งอย่างยั่งยืน” ผลงานอาจารย์และนิสิตจุฬาฯ ได้รับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรมที่อินโดนีเซีย
อบรม “การเพิ่มศักยภาพของผู้มีส่วนได้เสียในการท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ”
16 ตุลาคม 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น.
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา
“ประติมากรรมเสียงสวรรค์” ศิลปะผสานเทคโนโลยีที่หน้าคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
จุฬาฯ ครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย จากสถาบันหลักของโลก 2 แห่ง Times Higher Education 2024 และ QS World University Rankings 2024
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้