รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
28 ตุลาคม 2565
ข่าวเด่น, หลักสูตรระยะสั้น
ผู้เขียน เมธาพร ไตรกิจวัฒนกุล
ศูนย์การศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญชวนนักเรียน นิสิตและบุคคลทั่วไป ร่วมเรียนรู้ทางออนไลน์กับคอร์ส Engineering My World ให้ความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานและประสบการณ์การทำงานเพื่อแก้ปัญหาในสังคมแบบวิศวกร สอนโดยคณาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เข้าเรียนได้ทาง CU Neuron แพลตฟอร์มการศึกษาออนไลน์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมรับประกาศนียบัตรเมื่อเรียนสำเร็จ
คอร์สเรียน Engineering My World ประกอบด้วยเนื้อหาที่น่าสนใจ ดังนี้
1) มองนวัตกรรมผ่านแว่นวิศวกร
– ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับชีวิตของเรา
– วิศวกรคือใคร ทำอะไร
– นวัตกรรมในฐานะเครื่องมือในการแก้ปัญหา
– CDIO เคล็ดลับ 4 ขั้นตอนในการสร้างนวัตกรรม
– วิศวกรเล่าให้ฟัง – Garena Free Fire
2) Conceive
– การ Conceive เพื่อค้นหา “โจทย์ที่ใช่”: กรณีศึกษา – Make by Kbank
– หา Insite ด้วย Design Thinking
– คุณลักษณะของวิศวกร
– กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 1
3) Design
– บทนำเกี่ยวกับการ Design
– ประยุกต์ใช้ความรู้คู่ Design
– แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบเชิงวิศวกรรม
– กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 2
4) Implement
– บทนำเกี่ยวกับการ Implement
– การพัฒนาซอฟต์แวร์
– การตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัย
– การบริหารจัดการ มุมมองเชิงธุรกิจ และกฎเกณฑ์: มาตรฐาน
– กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 3
5) Operate
– บทนำเกี่ยวกับ Operate
– ส่วนสำคัญของการ Operate
– Data Analytics เพื่อปรับปรุง Ookbee แอปพลิเคชันร้านหนังสือออนไลน์
– กรณีศึกษารถยนต์ไฟฟ้า ตอนที่ 4
ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนฟรีและเข้าเรียนได้ตั้งแต่บัดนี้ – 31 ธันวาคม 2565 ที่ https://cuneuron.chula.ac.th/course-detail/146
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์การศึกษาทั่วไป จุฬาฯ
โทร.0-2218-3827 Facebook: @ChulaNeuron
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับภาคีเครือข่ายจัดงาน “Laฬ Square มหกรรมกฎหมาย เครือข่ายนิติจุฬาฯ สู่สังคม” ยกกฎหมายมาไว้กลางสยาม ให้บริการวิชาการแก่สังคมและประชาชน
จุฬาฯ จับมือบริษัท ธิงค์ อาร์ เค จำกัด เปิดตัวโครงการ Chula X VendWeGo® นำเทคโนโลยีดิจิทัลครบวงจรผสานกับปัญญาประดิษฐ์ผ่านจอ VendWeGo® เชื่อมโยงพื้นที่สยามสแควร์ สามย่าน สวนหลวง พื้นที่ต้นแบบนวัตกรรมดิจิทัลสู่อนาคตเมืองอัจฉริยะ
พิธีเปิด-ปิดการแข่งขันกีฬาบุคลากรจุฬาฯ ครั้งที่ 45 ประจำปี 2568 ยิ่งใหญ่ ประทับใจ รวมพลังชาวจุฬาฯ ร่วมกิจกรรมกีฬาเพื่อสุขภาพ
นายกสภาจุฬาฯ เป็นประธานในพิธีจุดไฟฤกษ์ พิธีเปิด-ปิดกีฬาบุคลากรจุฬาฯ ครั้งที่ 45 ประจำปี 2568 ณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล
เชิญชวนชาวจุฬาฯ ร่วมพิธีเปิด-ปิดการแข่งขันกีฬาภายในของบุคลากรจุฬาฯ 14 มี.ค. 2568 ณ สนามกีฬาจุฬาฯ
14 มีนาคม 2568
ณ สนามกีฬาจุฬาฯ
รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “108 ปี จามจุรีประดับใจ”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้