รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
22 ธันวาคม 2565
ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ข่าวเด่น
ผู้เขียน นิธิกานต์ ปภรภัฒ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมุ่งมั่นสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความยั่งยืน และเป็นต้นแบบในการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero waste management) โดยได้ออกประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง “นโยบายด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและขยะอันตราย พ.ศ. 2565” ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 โดยมีสาระสำคัญดังนี้
ประกาศจุฬาฯ นี้มุ่งให้มหาวิทยาลัยและส่วนงานมีการบริหารจัดการและพัฒนาระบบการจัดการขยะครอบคลุมตั้งแต่ต้นจนถึงปลายทาง เน้นการมีส่วนร่วมจากประชาคมจุฬาฯ ทั้งนิสิต ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย และผู้ประกอบการในบริเวณพื้นที่มหาวิทยาลัย หรือส่วนงานที่จัดกิจกรรมต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มีความร่วมมือในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้มีความยั่งยืน ลดใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง (Single-Use Plastic) โดยเลือกใช้วัสดุ วัสดุดิบ และผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกำหนด และผ่านการลดปริมาณการเกิดขยะและการคัดแยกขยะตามหลักการ 3RS ได้แก่ การชดใช้ทรัพยากรและลดการเกิดขยะ (Reduce) การใช้ซ้ำและใช้ให้คุ้มค่า (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) โดยจัดสรรประเภทขยะภายในมหาวิทยาลัยเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ขยะอาหาร ขยะรีไซเคิล ขยะเชื้อเพลิง ขยะอันตราย และขยะประเภทอื่นๆ
การรณรงค์เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาคมจุฬาฯ ในการลด คัดแยกและนำขยะมาใช้ประโยชน์นี้มุ่งหวังให้เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรการจัดการขยะอย่างยั่งยืนและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ส่งเสริมการสอน การวิจัยและนวัตกรรมอย่างมี ส่วนร่วมกันของประชาคมจุฬาฯ เพื่อการจัดการขยะในมหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืน เป็นต้นแบบและขยายผลไปยังชุมชน สังคมและประเทศ
ข้อมูลและภาพประกอบ : Chula Zero Waste
จุฬาฯ ผงาดอีกครั้งครองอันดับที่ 17 ของโลก อันดับ 1 ของไทย Times Higher Education Impact Rankings 2023
วิศวฯ จุฬาฯ ร่วมกับสถานีวิทยุจุฬาฯ จัดโครงการ Envi Mission ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม ปีที่ 4 รวมพลังคิด(ส์) ฝ่าวิกฤตพลังงาน
ขอเชิญนักเรียนชั้นมัธยมปลายร่วมการแข่งขันสร้างแอปพลิเคชัน
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เปิดโครงการ “Special LawLAB การสืบสวนสอบสวนยุค 5G” รุ่น 2
โครงการอบรมความทางรู้ทางจิตวิทยาเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)
4 ก.ค. 66
คณะจิตวิทยา จุฬาฯ
จุฬาฯ เชิญร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร CUVIP เดือนมิถุนายน 2566 Theme “Preparation for working World with CUVIP”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้