รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
16 สิงหาคม 2566
ข่าวเด่น
ผู้เขียน ธิติรัตน์ สมบูรณ์
23 ส.ค. 66 เวลา 13.00 น.
ศูนย์ญี่ปุ่น-อาเซียนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรทางวิชาการ ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมงานสัมมนาในหัวข้อ “การเมือง-วัฒนธรรมในภัยพิบัติ : 1 ศตวรรษแผ่นดินไหวใหญ่คันโต” ในวันพุธที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม Social Innovation Hub อาคารวิศิษฐ์ – ประจวบเหมาะ จุฬาฯ หรือรับชมผ่าน Zoom
ฟังปาฐกถาพิเศษโดย Prof. Dr. Suzuki Jun จาก Graduate School of Humanities and Sociology,University of Tokyo ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ภัยพิบัติญี่ปุ่น และการสัมมนาในหัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจจากคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ อาทิ ดร.อเล็กซองดร์ โลรอง อาร์โนต์ บาร์แตล ดร.กฤตพล วิภาวีกุล ผศ.ดร.สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ และ ผศ.ดร.ธีวันท์ สุพุทธิกุล ดำเนินรายการโดย ผศ.ดร.ธีวินท์ สุพุทธิกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
ผู้สนใจเข้าร่วมสัมมนาสามารถลงทะเบียนโดยสแกน QR Code ได้ที่โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ญี่ปุ่น – อาเซียนศึกษาสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ โทร. 0-2218-7467 หรือที่ E-mail: krittaphol.v@chula.ac.th
อธิการบดีจุฬาฯ รับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีต้อนรับเรือเสว่ยหลง 2 เยือนประเทศไทย
นักวิจัยจุฬาฯ ตัวแทนไทยร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
การบรรยายพิเศษโครงการ Asia Forward Series ครั้งที่ 3 หัวข้อ “Navigating a Fragmented World: Asia’s Role in the Changing Global Order” โดยนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมนักจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในองค์กร
บริษัทจำลองจุฬาฯ 2025 เปิดโครงการฝึกงานนิสิตภาคฤดูร้อน ภายใต้ปณิธาน “ทำงานด้วยใจ คืนกำไรสู่สังคม”
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ได้รับการรับรองให้เป็นผู้แทนประเทศไทยในสถาบันมาตรฐานและมาตรวิทยาแห่งประเทศอิสลาม
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้