หลักสูตร

หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรการเรียนการสอนครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ

หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรการเรียนการสอนครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ

จุฬาฯ พัฒนาหลักสูตรและระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงคณาจารย์และบุคลากรที่มีคุณภาพ มีประสบการณ์ มีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย และเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมรอบด้าน เพื่อให้นิสิตได้รับการศึกษาที่ดีที่สุด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ

หลักสูตรที่เปิดสอนของคณะ วิทยาลัย และสถาบัน

  • ภาควิชาของคณะครุศาสตร์ (Faculty of Education)

    คณะครุศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่

    1. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
    2. เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา (Educational Communication and Technology)
    3. ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา (Art, Music and Dance Education)
    4. นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา (Educational Policy, Management, and Leadership)
    5. การศึกษาตลอดชีวิต(Lifelong Education)
    6. วิจัยและจิตวิทยาการศึกษา(Educational Research and Psychology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) Bachelor of Education (B.Ed.) 10 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การศึกษาปฐมวัย* (Early Childhood Education)
    2. ประถมศึกษา* (Elementary Education)
    3. มัธยมศึกษา* (Secondary Education)
    4. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)
    5. เทคโนโลยีการศึกษา* (Educational Technology)
    6. ศิลปศึกษา* (Art Education)
    7. ดนตรีศึกษา* (Music Education)
    8. ธุรกิจศึกษา* (Business Education)
    9. การศึกษานอกระบบโรงเรียน* (Non-Formal Education)
    10. จิตวิทยาการปรึกษา การแนะแนว และการศึกษาพิเศษ* (Counseling Psychology, Guidance and Special Education)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) Master of Education (M.Ed.) 20 สาขาวิชาได้แก่

1. การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education)

2. ประถมศึกษา (Elementary Education)

3. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)

4. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)

5. การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (นานาชาติ) (Teaching English as a Foreign Language)

6. การศึกษาคณิตศาสตร์ (Mathematics Education)

7. การสอนภาษาไทย (Teaching Thai Language)

8. การศึกษาวิทยาศาสตร์ (Science Education)

9. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Educational Technology and Communications)

10. ศิลปศึกษา (Art Education)

11. ดนตรีศึกษา (Music Education)

12. บริหารการศึกษา (Educational Administration)

13. นิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร (Supervision and Curriculum Development)

14. พัฒนศึกษา (Development Education)

15. อุดมศึกษา (Higher Education)

16. การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal Education)

17. การวัดและประเมินผลการศึกษา* (Educational Measurement and Evaluation)

18. วิธีวิทยาการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา (Methodology for Innovation Development in Education)

19. สถิติและสารสนเทศการศึกษา* (Educational Statistics and Information)

20. จิตวิทยาการศึกษา* (Educational Psychology)

  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 13 สาขาวิชาได้แก่

1. การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education)

2. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)

3. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)

4. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Educational Technology and Communications)

5. ศิลปศึกษา (Art Education)

6. คนตรีศึกษา (Music Education)

7. บริหารการศึกษา (Educational Management)

8. ภาวะผู้นำการบริหารระบบการศึกษา (นานาชาติ) (Educational System Management Leadership)

9. พัฒนศึกษา (Development Education)

10. อุดมศึกษา (Higher Education)

11. การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal Education)

12. การวัดและประเมินผลการศึกษา** (Educational Measurement and Evaluation)

13. วิธีวิทยาการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา (Methodology for Innovation Development in Education)

  • หมายเหตุ

    • * เปิดสอนทั้งโปรแกรมปกติ และโปรแกรมเกียรตินิยม
    • * ข้อ 17, 19, 20 รอเปิดหลักสูตร เนื่องจากได้ควบรวมอยู่ในลำดับที่ 18
    • ** ข้อ 12 รอเปิดหลักสูตร เนื่องจากได้ควบรวมอยู่ในหลักสูตรลำดับที่ 13
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) Bachelor of Science (B.S.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    1. จิตวิทยา (Psychology)
    2. วิทยาศาสตร์จิตวิทยา (นานาชาติ)* (Psychological Science)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา (ศศ.ม.) Master of Arts Program in Psychology (M.A.) ประกอบด้วย 2 สาขาวิชา ได้แก่

    1. จิตวิทยา (Psychology)
    2. จิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science  (M.Sc.) ประกอบด้วย 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์จิตวิทยา(Psychological Science)

  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต  (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) ประกอบด้วย 2 สาขาวิชา ได้แก่

    1. จิตวิทยา (Psychology)
    2. จิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology )

    2. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) ประกอบด้วย 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์จิตวิทยา (ภาษาอังกฤษ) (Psychological Science)
  • ภาควิชาของคณะทันตแพทยศาสตร์ (Faculty of Dentistry)

    คณะทันตแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 16 ภาควิชา ได้แก่

    1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
    2. จุลชีววิทยา (Microbiology)
    3. ชีวเคมี (Biochemistry)
    4. ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
    5. ทันตกรรมชุมชน (Community Dentistry)
    6. ทันตกรรมบดเคี้ยว (Occlusion)
    7. ทันตกรรมประดิษฐ์( Prosthodontics)
    8. ทันตกรรมสำหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
    9. ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
    10. ทันตพยาธิวิทยา (Oral Pathology)
    11. ปริทันตวิทยา (Periodontology)
    12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    13. รังสีวิทยา (Radiology)
    14. เวชศาสตร์ช่องปาก(Oral Medicine)
    15. ศัลยศาสตร์ (Oral and Maxillofacial Surgery)
    16. สรีรวิทยา (Physiology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (ท.บ.) Doctor of Dental Surgery (D.D.S.) หลักสูตร 6 ปี
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) Graduate Diploma in Clinical Sciences [Grad.Dip.in Clin.Sc. (…)] 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล(Oral and Maxillofacial Surgery)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 12 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ชีววิทยาช่องปาก* (นานาชาติ) (Oral Biology)
    2. ทันตกรรมบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากและใบหน้า (Occlusion and Orofacial Pain)
    3. ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
    4.  ทันตกรรมสำหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
    5.  ทันตกรรมหัตถการ (นานาชาติ) (Operative Dentistry)
    6. วิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontics)
    7. ปริทันตศาสตร์ (Periodontics)
    8. รังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล (Oral and Maxillofacial Radiology)
    9. เวชศาสตร์ช่องปาก (Oral Medicine)
    10. ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล (Oral and Maxillofacial Surgery)
    11. ทันตกรรมบูรณะเพื่อความสวยงามและทันตกรรมรากเทียม (นานาชาติ) (Esthetic Restorative and Implant Dentistry)
    12. ทันตกรรมผู้ส่งอายุและการดูแลผู้ป่วยพิเศษ (นานาชาติ) (Geriatric and Special Patients Care)
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์คลินิก) Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences  (Higher.Grad.Dip.in Clin. Sc.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)

     2.ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (นานาชาติ) (ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์คลินิก) (นานาชาติ) (Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences)

    หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ชีววิทยาช่องปาก*(1) (นานาชาติ) (Oral Biology)
    2. ทันตกรรมจัดฟัน** (นานาชาติ) Orthodontics
    3. ทันตสาธารณสุข (นานาชาติ) (Dental Public Health)
    4. ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
  • หมายเหตุ

    * รับผิดชอบโดยภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา ภาควิชาชีวเคมี ภาควิชาเภสัชวิทยา ภาควิชาสรีรวิทยา และภาควิชาเวชศาสตร์ช่องปาก

    ** เป็นหลักสูตรร่วมปริญญาข้ามสถาบัน (Joint Degree Program) กับ Tokyo Medical and Dental University, Japan

    (1) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ The Graduate School of Dentistry, Tohoku University, Japan

 

  • หลักสูตรปริญญาตรี และหลักสูตรปริญญาโท ข้อ 7 ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ AUN-QA
  • หลักสูตรปริญญาโท ข้อ 5 รอเปิดหลักสูตร
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) Bachelor of Laws (LL.B.)
    2. นิติศาสตร์บัณฑิต (น.บ) 1 สาขาวิชา ได้แก่

2.1 กฎหมายธุรกิจและเทคโนโลยี (นานาชาติ) (ฺBusiness and Technology Laws)

  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) Master of Laws (LL.M.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 นิติศาสตร์ (Laws)
    • 1.2 กฎหมายธุรกิจ (นานาชาติ) (Business Law)
    • 1.3 กฎหมายการเงินและภาษีอากร (Finance and Tax Laws)

    2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 กฎหมายเศรษฐกิจ (Economic Law)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (น.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    1. นิติศาสตร์ (Laws)
  • ภาควิชาของคณะนิเทศศาสตร์ (Faculty of Communication Arts)

    คณะนิเทศศาสตร์ประกอบด้วย 5 ภาควิชา

    1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
    2. การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
    3. วารสารสนเทศ (Journalism)
    4. วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts)
    5. การภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Motion Pictures and Still Photography)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) Bachelor of Arts (Communication Arts) [B.A.(Communication Arts)]  7 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
    • 1.2. การโฆษณาและการสื่อสารตราสินค้า (Advertising and Brand Communications)
    • 1.3. การออกแบบและผลิตสื่อ (Media Design and Production)
    • 1.4. วารสารสนเทศและสื่อใหม่ (Journalism, Information, and New Media)
    • 1.5. วาทนิเทศ (Speech Communication)
    • 1.6. สื่อสารการแสดง (Performing Arts)
    • 1.7. ศิลปะภาพยนตร์ (Cinematic Arts)

    2. นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) Bachelor of Arts (Communication Arts)[B.A.(Communication Arts)] 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1. การจัดการการสื่อสาร (นานาชาติ) (Communication Management)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) Master of Arts (Communication Arts) [M.A. (Communication Arts)] 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. การจัดการการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (นานาชาติ) (Strategic Communication Management)

    2. นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) Master of Arts (Communication Arts) [M.A. (Communication Arts)]

  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. นิเทศศาสตร์ (Communication Arts)
  • หมายเหตุ

    • หลักสูตรปริญญาโทและระดับปริญญาเอก รับผิดชอบโดยคณะนิเทศศาสตร์
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) Master of Nursing Science (M.N.S.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การพยาบาลเด็ก (PEDIATRIC NURSING)
    2. การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ (ADULT AND GERONTOLOGICAL NURSING)
    3. การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (PSYCHIATRIC NURSING AND MENTAL HEALTH)
    4. การบริหารการพยาบาล (NURSING ADMINISTRATION)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พย.ด.) Doctor Of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นานาชาติ) (DOCTOR OF PHILOSOPHY PROGRAM IN NURSING SCIENCE)
  • ภาควิชาของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี (Faculty of Commerce and Accountancy)

    คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีประกอบด้วย 5 ภาควิชา ได้แก่

    1. การบัญชี (Accounting)
    2. พาณิชยศาสตร์ (Commerce)
    3. การธนาคารและการเงิน (Banking and Finance)
    4. การตลาด (Marketing)
    5. สถิติ (Statistics)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. บัญชีบัณฑิต (บช.บ.) Bachelor of Accountancy (B.Acc.)

    2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) Bachelor of Business Administration (B.B.A.) 5 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 การจัดการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ (Entrepreneurial Management)
    • 2.2 ระบบสารสนเทศทางการจัดการ (Management Information Systems)
    • 2.3 การธนาคารและการเงิน (Banking and Finance)
    • 2.4 การตลาด (Marketing)
    • 2.5 การจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ (International Logistics Management)

    3. บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) Bachelor of Business Administration (B.B.A.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ (นานาชาติ)* (International Business Management)
    • 3.2. การบัญชี (นานาชาติ) * (Accounting)

    4. สถิติศาสตรบัณฑิต (สต.บ.) Bachelor of Science (Statistics) [B.S. (Statistics)] 3 สาขาวิชาได้แก่

    • 4.1 สถิติและวิทยาการข้อมูล (Statistics and Data Science)
    • 4.2 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อธุรกิจ (Information Technology for Business)
    • 4.3 การประกันภัย (Insurance)

      หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

      1. บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) Master of Accountancy (M.Acc.)

      2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

      • 2.1 การบัญชี (Accountancy)

      3. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) Master of Business Administration (M.B.A.)

      4. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม) Master of Science (M.S.) / (M.Sc.) 9 สาขาวิชา ได้แก่

      • 4.1 สถิติและวิทยาการข้อมูล (Statistics and Data Scoemce)
      • 4.2 เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ (Information Technology in Business)
      • 4.3 การประกันภัย (Insurance)
      • 4.4 การเงิน (ภาษาอังกฤษ) (Finance)
      • 4.5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ (Business Software Development)
      • 4.6 การจัดการแบรนด์และการตลาด (ฺBrand and Marketing Management)
      • 4.7 การกำกับดูแลกิจการ (Corporate Governance)
      • 4.8 วิศวกรรมการเงิน (Financial Engineering) (ภาษาอังกฤษ/สหสาขาวิชา)
      • 4.9 ธุรกิจ (Business)***

      5. การจัดการมหาบัณฑิต (กจ.ม.) Master of Management (M.M.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

      • 5.1 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ** (นานาชาติ) (International Business Management)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Accountancy) [Ph.D.(Acc.)] 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 การบัญชี (Accountancy)

    2. บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (บธ.ด.) (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) Doctor of Business Administration (D.B.A. 4 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 การจัดการ (Management)
    • 2.2 การเงิน (Finance)
    • 2.3 การตลาด (Marketing)
    • 2.4 เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ (Information Technology in Business)
  • หมายเหตุ

  • * รับผิดชอบโดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
  • **รับผิดชอบโดยภาควิชาพาณิชยศาสตร์
  • ***เป็นหลักสูตรที่เปิดเพื่อรองรับการจัดทำหลักสูตรควบข้าระดับของมหาวิทยาลัย
  • หลักสูตรปริญญาตรี ข้อ 1, 2, 3.1, 3.2 หลักสูตรปริญญาโทข้อ 1, 4.2, 4.4, 4.6, 4.7, 4.8, 5.1 และหลักสูตรปริญญาเอกข้อ 1.1 และข้อ 2 ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ AACSB และ EQUIS
  • หลักสูตรปริญญาโท ข้อ 3 ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ AACSB, EQUIS และ AMBA
  • หลักสูตรปริญญาตรี ข้อ 4  และหลักสูตรปริญญาข้อ 4.1, 4.3, 4.5 ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ EQUIS
  • หลักสูตรปริญญาโท ข้อ 2 รอปิดหลักสูตร
  • ภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine)

    คณะแพทยศาสตร์ประกอบด้วย 21 ภาควิชา ได้แก่

    1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
    2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry)
    3. จุลชีววิทยา (Microbiology)
    4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine)
    5. ปรสิตวิทยา (Parasitology)
    6. พยาธิวิทยา (Pathology)
    7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine)
    8. สรีรวิทยา (Physiology)
    9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)
    10. จักษุวิทยา (Ophthalmology)
    11. ชีวเคมี (Biochemistry)
    12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    13. รังสีวิทยา (Radiology)
    14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology)
    15. เวชศาสตร์ชันสูตร(Laboratory Medicine)
    16. ศัลยศาสตร์ (Surgery)
    17. ออร์โธปิดิกส์ Orthopedics)
    18. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine)
    19. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology)
    20. โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otolaryngology)
    21. อายุรศาสตร์ (Medicine)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) Doctor of Medicine (M.D.) หลักสูตร 6 ปี

          2. แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (นานาชาติ) Doctor of Medicine (M.D.) หลักสูตร 6 ปี

  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) Graduate Diploma (Grad.Dip.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

1. สุขภาพจิต (Mental Health)

  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 13สาขาวิชา ได้แก่

    1. สุขภาพจิต (Mental Health)
    2. ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ (Medical Parasitology)
    3. การวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ*** (Health Research and Management)
    4. ชีวเคมีทางการแพทย์ (Medical Biochemistry)
    5. ฟิสิกส์การแพทย์ (Medical Physics)
    6. อายุรศาสตร์ (Medicine)
    7. วิทยาศาสตร์การแพทย์* (Medical Sciences)
    8. วิทยาศาสตร์การแพทย์ (นานาชาติ)* (Medical Sciences)
    9. การพัฒนาสุขภาพ (นานาชาติ)* (Health Development)
    10. เวชศาสตร์การกีฬา** (Sports Medicine)
    11. เวชศาสตร์คลินิก (นานาชาติ)* (Medical Sciences)
    12. ระบาดวิทยาคลินิก (นานาชาติ) 1* (Clinical Epidemiology)
    13. การศึกษาวิชาชีพสุขภาพ* (สหสาขาวิชา) (Health Professions Education)
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences (Higher.Grad.Dip.of Clin. Sc.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    1. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)
    2. โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otolaryngology)
    3. อายุรศาสตร์ (Internal Medicine)
    4. ตจวิทยา (Dermatology)

         2. ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตชั้นสูง – ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก)* Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences (Higher.Grad.Dip.of Clin. Sc.)

  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 9 สาขาวิชา ได้แก่

    1. สุขภาพจิต (Mental Health)
    2. การวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ (Health Research and Management)
    3. ชีวเคมีทางการแพทย์ (Medical Biochemistry)
    4. ฟิสิกส์การแพทย์ (Medical Physics)
    5. อายุรศาสตร์ (Medicine)
    6. วิทยาศาสตร์การแพทย์* (Medical Sciences)
    7. วิทยาศาสตร์การแพทย์ (นานาชาติ)* (Medical Sciences)
    8. ชีวเวชศาสตร์และชีวเทคโนโลยี (นานาชาติ) **** (Biomedical Sciences and Biotechnology)
    9. เวชศาสตร์คลินิก (นานาชาติ)* (Clinical Science)
  • หมายเหตุ

  • 1* เป็นหลักสูตรร่วมปริญญาข้ามสถาบัน (Joint Degree Program) กับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น (รับผิดชอบโดยคณะแพทยศาสตร์)
  • * รับผิดชอบโดยคณะแพทยศาสตร์
  • ** หลักสูตรปริญญาโทข้อ 10 รับผิดชอบโดยภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาชีวเคมี ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ฯ และภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
  • *** เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program)ร่วมกับ Faculty of Medical and Health Science, The University of Auckland ประเทศนิวซีแลนด์
  • **** รับผิดชอบโดยภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาชีวเคมี ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาปรสิตวิทยา ภาควิชาเภสัชวิทยา และภาควิชาจุลชีววิทยาและเป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ School of Biomedical Sciences, University of Liverpool, UK
  • หลักสูตรปริญญาตรีข้อ 1 และ 2ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติWFME
  • หลักสูตรปริญญาโทข้อ 7 และ 11 และหลักสูตรปริญญาเอกข้อ 6 และ 9 ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ AUN-QA
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ข้อ 1.1 – 1.4 รอปิดหลักสูตร เนื่องจากได้ควบรวมอยู่ในหลกัสูตรลำดับที่ 2 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก
  • ภาควิชาของคณะเภสัชศาสตร์ (Faculty of Phamaceutical Science)

    คณะเภสัชศาสตร์ประกอบด้วย 7 ภาควิชา ได้แก่

    1. วิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม (Pharmaceutics and Industrial Pharmacy)
    2. เภสัชกรรมปฏิบัติ (Pharmacy Practice)
    3. อาหารและเภสัชเคมี (Food and Pharmaceutical chemistry)
    4. เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
    5. เภสัชวิทยาและสรีรวิทยา (Pharmacology and Physiology)
    6. ชีวเคมีและจุลชีววิทยา (Biochemistry and Microbiology)
    7. เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร(Social and Administrative Pharmacy)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    เภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.) Doctor of Pharmacy (Pharm. D.) หลักสูตร 6 ปี 2 สาขาวิชา ได้แก่

    1. เภสัชกรรมอุตสาหการ (Industrial Pharmacy)
    2. การบริบาลทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1.เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.) Master of Science in Pharmacy (M.Sc. in Pharm.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 เภสัชกรรมอุตสาหการ (Industrial Pharmacy)
    • 1.2 การบริบาลทางเภสัชกรรม (Clinical Pharmacy)
    • 1.3 เภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and Toxicology)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 5 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง (Cosmetic Science)
    • 2.2 ชีวเวชเคมี* (ฺBiomedical Chemistry)
    • 2.3 เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (นานาชาติ) (Social and Administrative Pharmacy)
    • 2.4 เภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี** (Pharmaceutical Sciences and Technology)
    • 2.5 การวิจัยสำหรับธุรกิจ (สหสาขาวิชา)*** (Research For Enterprise)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 เภสัชกรรมอุตสาหการ (Industrial Pharmacy)
    • 1.2 การบริบาลทางเภสัชกรรม (Clinical Pharmacy)
    • 1.3 เภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and Toxicology)

    2. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ*(Pharmaceutical Chemistry and Natural Products)
    • 2.2 ชีวเวชเคมี* (Biomedical Chemistry)
    • 2.3 เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (นานาชาติ) (Social and Administrative Pharmacy)
    • 2.4 เภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี** (Pharmaceutical Sciences and Technology)
  • หมายเหตุ

* รอเปิดหลักสูตร เนื่องจากได้ควบอยู่ในหลักสูตรลำดับที่ 2.4 วท.ม. สาขาวิชาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับปริญญาโทและ 2.5 วท.ด. สาขาวิชาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับปริญญาเอก

** รับผิดชอบโคยภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา ภาควิชาเภสัชวิทยาและสรีรวิทยา ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม และภาควิชาอาหารและเภสัชเคมี โดยหลักสูตรปริญญาเอกเป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบันร่วมกับวิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เกาสง สาธารณรัฐ (ไต้หวัน)

*** รับผิดชอบโดยภาควิชาเภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร

  • ภาควิชาของคณะรัฐศาสตร์ (Faculty of Political Science)

    คณะรัฐศาสตร์ประกอบด้วย 4 ภาควิชา ได้แก่

    1. การปกครอง (Government)
    2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
    3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
    4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1.รัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) Bachelor of Arts (Political Science) [B.A. (Political Science)] 4 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การปกครอง (Government)
    2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
    3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
    4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)

        2. รัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) Bachelor of Arts (Political Science) [B.A. (Political Science)] 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การเมืองและโลกสัมพันธ์ศึกษา (นานาชาติ)**(1) (Politics and Global Studies)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

              1. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.) Master of Arts (M.A.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

                 1.1 การปกครอง (Government)

                 1.2 การเมืองและการจัดการปกครอง (Politics and Governance)

                 1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)

               2. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) Master of Public Administration (M.P.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

                 2.1 รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)

               3. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

                  3.1 สังคมวิทยาและมนุษยวิทยา* (Sociology and Anthropology)

                  3.2 อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม* (Criminology and Criminal Justice)

                  3.3 การพัฒนาระหว่างประเทศ (นานาชาติ)**(2) (International Development Studies)

  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ร.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1.รัฐศาสตร์ (Political Science)

          2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ด.) Master of Arts (M.A.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

                  3.1 สังคมวิทยาและมนุษยวิทยา* (Sociology and Anthropology)

                  3.2 อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม* (Criminology and Criminal Justice)

                  3.3 การพัฒนาระหว่างประเทศ (นานาชาติ)**(3) (International Development Studies)

  • หมายเหตุ

    • * รับผิดชอบโดยภาควิชาสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา
    • ** รับผิดชอบโดยคณะรัฐศาสตร์
    • หลักสูตรปริญญาโท 2.1 ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ AUN-QA
    • (1) เป็นหลักสูตรสอบปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ The University of Essex, UK และ The University of Queensland, Australia
    • (2) เป็นหลักสูตรสอบปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Sophia University, Japan
    • (3) เป็นหลักสูตรสอบปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Faculty of Science, University of Copenhagen, Denmark
  • ภาควิชาของคณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Science)

    คณะวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 14 ภาควิชา ได้แก่

    1. คณิตศาสตร์วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Mathematics and Computer Science)
    2. เคมี (Chemistry)
    3. ชีววิทยา (Biology)
    4. ฟิสิกส์ (Physics)
    5. พฤกษศาสตร์ (Botany)
    6. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
    7. ธรณีวิทยา (Geology)
    8. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Enviromental Science)
    9. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    10. ชีวเคมี (Biochemistry)
    11. วัสดุศาสตร์ (Material Science)
    12. จุลชีววิทยา (Microbiology)
    13. วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและ เทคโนโลยีทางการพิมพ์ (Photographic Science and Printing Technology)
    14. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) Bachelor of Science (B.Sc.) 19 สาขาวิชาได้แก่

    1. คณิตศาสตร์* (Mathematics)
    2. วิทยาการคอมพิวเตอร์* (Computer Science)
    3. เคมี (Chemistry)*
    4. เคมีประยุกต์ (นานาชาติ) (Applied Chemistry)
    5. ชีววิทยา (Biology)
    6. สัตววิทยา (Zoology)
    7. ฟิสิกส์ (Physics)*
    8. พฤกษศาสตร์ (Botany)*
    9. พันธุศาสตร์ (Genetics)*
    10. เคมีวิศวกรรม (Chemical Engineering)
    11. ธรณีวิทยา (Geology)
    12. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Science)
    13. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    14. ชีวเคมี (Biochemistry)
    15. วัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี (Materials Science and Technology)
    16. จุลชีววิทยา* (Microbiology)
    17. เทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ (Imaging and Printing Technology)
    18. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
    19. เทคโนโลยีชีวภาพ (นานาชาติ)**** (Biotechnology)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 27 สาขาวิชา ได้แก่

    1. คณิตศาสตร์ (1) (Mathematics)
    2. คณิตศาสตร์ประยุกต์และวิทยาการคณนา (1) (Applied Mathematics and Computational Science)
    3. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  (Computer Science and Information Technology)
    4. เคมี (Chemistry)
    5. เคมีสีเขียวและความยั่งยืน (นานาชาติ) (Green Chemistry and Sustainability)
    6. สัตววิทยา (Zoology)
    7. ฟิสิกส์ (Physics)
    8. พฤกษศาสตร์ (Botany)
    9. พันธุศาสตร์ (Genetics)
    10. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
    11. เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชื้อเพลิง (Fuel Technology and Innovation)
    12. ธรณีวิทยา (Geology)
    13. โลกศาสตร์ (Earth Sciences)
    14. พิษวิทยาอุตสาหกรรมและการประเมินความเสี่ยง (Industrial Toxicology and Risk Assessment)
    15. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    16. ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล  (Biochemistry and Molecular Biology)
    17. เทคโนโลยีเซรามิก (Ceramic Technology) (8)
    18. วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ (2) (Applied Polymer Science and Textile Technology)
    19. จุลชีววิทยาและเทคโนโลยีจุลินทรีย์  (ภาษาอังกฤษ) (Microbiology and Microbial Technology)
    20. เทคโนโลยีทางภาพ (Imaging Technology)
    21. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
    22. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร (นานาชาติ) (3) (Food Science and Technology)
    23. ปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์** (ฺPetrochemistry and Polymer  Science)
    24. เทคโนโลยีเยื่อกระดาษและบรรจุภัณฑ์ *** (Pulp, paper and Packaging Technology)
    25. เทคโนโลยีชีวภาพ **** (Biotechnology) (4)
    26. ธรณีศาสตร์พลังงาน (นานาชาติ) **** (Energy Geoscience)
    27. วิทยาศาสตร์เพื่ออุตสาหกรรม (Science for Industry)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 21 สาขาวิชา ได้แก่

    1. คณิตศาสตร์ (Mathematics)
    2. คณิตศาสตร์ประยุกต์และวิทยาการคณนา (Applied Mathematics and Computational Science)
    3. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Computer Science and Information Technology)
    4. เคมี (Chemistry) (5)
    5. เคมีสีเขียวและความยั่งยืน (นานาชาติ) (Green Chemistry and Sustainability)
    6. สัตววิทยา (Zoology)
    7. ฟิสิกส์ (Physics)
    8. พฤกษศาสตร์ (Botany)
    9. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
    10. ธรณีวิทยา (Geology)
    11. พิษวิทยาอุตสาหกรรมและการประเมินความเสี่ยง (Industrial Toxicology and Risk Assessment)
    12. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    13. ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล (6) (Biochemistry and Molecular Biology)
    14. วัสดุศาสตร์ (Materials Science) (5)
    15. วัสดุและเทคโนโลยียั่งยืนเพื่ออุตสาหกรรม (นานาชาติ) (9) (Sustainable Materials and Technology for Industries )
    16. จุลชีววิทยาและเทคโนโลยีจุลินทรีย์  (ภาษาอังกฤษ) (7) (Microbiology and Microbial Technology)
    17. เทคโนโลยีทางภาพ (Imaging Technology)
    18. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
    19. ปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์** (Petrochemistry and Polymer Science)
    20. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ **** (ฺBiological Science)
    21. เทคโนโลยีชีวภาพ **** (Biotechnology) (4)

หมายเหตุ

  • * เปิดสอนทั้งโปรแกรมปกติและโปรแกรมเกียรตินิยม
  • ** รับผิดชอบโดยภาควิชาเคมี ภาควิชาเคมีเทคนิค ภาควิชาฟิสิกส์ ภาควิชาวัสดุศาสตร์ และภาควิชาเทคโนโยลีทางภาพและการพิมพ์
  • *** รับผิดชอบโดยภาควิชาเทคโนโยลีทางภาพและการพิมพ์ ภาควิชาเคมีเทคนิค และภาควิชาพฤกษศาสตร์
  • **** รับผิดชอบโคยคณะวิทยาศาสตร์ เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ United Graduate School of Agricultural Science Gifu University, Japan
  • (1) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Graduate School of Natural  Science and Technology, Kanazawa, Japan
  • (2) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Nagoya University of Technology, Japan
  • (3) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ The Faculty of Bioscience and Technology for Food Agiculture and Environment University of Teramo, Italy
  • (4) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ The Institute of Integrative Biology /School of Life Science, University of Liverpool, UK
  • (5) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Nagoya University of Technology, Japan
  • (6) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Graduate School of Science and Technology, Nara Institute of Science and Technology, และ Nagoya University of Technology, Japan
  • (7) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ College of Health Science Kaohsiung Medical University สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
  • (8) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Nagoya University of Technology, Japan
  • (9) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Nagoya University, Japan

 

  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ.  Bachelor of Science B.Sc. 1 สาขาวิชาได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย (Sports and Exercise Science)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย (Sports and Exercise Science)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย (Sports and Exercise Science)
  • ภาควิชาและหน่วยงานของคณะคณะวิศวกรรมศาสตร์ (Faculty of Engineering)

    คณะวิศวกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 12 ภาควิชา ดังนี้

    1. วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
    2. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
    3. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
    4. วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
    5. วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
    6. วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (Mining and Petroleum Engineering)
    7. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
    8. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
    9. วิศวกรรมโลหการ (Metallurgical Engineering)
    10. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
    11. วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
    12. วิศวกรรมแหล่งน้ำ (Water Resources Engineering)

    คณะวิศวกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 3 หน่วยงาน ดังนี้

    1. สำนักบริหารหลักสูตรวิศวกรรมนานาชาติ
    2. ศูนย์ระดับภูมิภาคทางวิศวกรรมระบบการผลิต
    3. หน่วยบูรณาการศาสตร์ด้านวิศวกรรม
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering (B.Eng.) มี 21 สาขาวิชา ประกอบด้วย

    1. วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
    2. วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ (นานาชาติ) (Chemical and Process Engineering)
    3. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
    4. วิศวกรรมเรือ (Naval Architecture and Marine Engineering)
    5. วิศวกรรมยานยนต์ (Automotive Engineering)
    6. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
    7. วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
    8. วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering)
    9. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
    10. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
    11. วิศวกรรมทรัพยากรธรณี (Georesources Engineering)
    12. วิศวกรรมปิโตรเลียม (Petroleum Engineering)
    13. วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
    14. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
    15. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล (หลักสูตร Sandbox) (Computer Engineering and Digital Technology)
    16. วิศวกรรมนิวเคลียร์และรังสี (Nuclear and Radiological Engineering)
    17. วิศวกรรมนาโน (นานาชาติ)** (Nano-Engineering)
    18. วิศวกรรมการออกแบบและการผลิตยานยนต์ (นานาชาติ)** (Automotive Design and Manufacturing Engineering)
    19. วิศวกรรมอากาศยาน (นานาชาติ)** (Aerospace Engineering)
    20. วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร (นานาชาติ)** (Information and Communication Engineering)
    21. วิศวกรรมหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ (นานาชาติ)** (Robotics and Artificial Intelligence Engineering)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

  1.  วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) Master of Engineering (M.Eng.) 18 สาขาวิชา ประกอบด้วย

  • 1.1 วิศวกรรมเคมี (2) (Chemical Engineering)
  • 1.2 วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
  • 1.3 ระบบกายภาพที่เชื่อมประสานด้วยเครือข่ายไซเบอร์ (Cyber-Physical System )
  • 1.4 วิศวกรรมยานพาหนะและโครงสร้างพื้นฐานระบบราง (นานาชาติ) (1) (Railway Vehicles and Infrastructure Engineering)
  • 1.5 วิศวกรรมไฟฟ้า (2) (Electrical Engineering)
  • 1.6 วิศวกรรมโยธา (3) (Civil Engineering)
  • 1.7 วิศวกรรมแหล่งน้ำ(Water Resources Engineering)
  • 1.8 วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering)
  • 1.9 วิศวกรรมพื้นผิวและการกัดกร่อน (Surface and Corrosion Engineering )
  • 1.10 วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
  • 1.11 วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
  • 1.12 วิศวกรรมทรัพยากรธรณีและปิโตรเลียม (นานาชาติ) (Georesources and Petroleum Engineering)
  • 1.13 วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
  • 1.14 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
  • 1.15 วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
  • 1.16 การจัดการทางวิศวกรรม (นานาชาติ)*** (Engineering Management)
  • 1.17 วิศวกรรมชีวเวช**** (สหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
  • 1.18 วิศวกรรมและเทคโนโลยีการป้องกันประเทศ***** (Defense and Engineering Technology)

2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of  Science (M.Sc) 7 สาขาวิชา ประกอบด้วย

  • 2.1 เทคโนโลยีนิวเคลียร์ (Nuclear Technology) (ภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์)
  • 2.2 วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer Science) (ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
  • 2.3 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) (ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
  • 2.4 วิศวกรรมชีวเวช**** (สหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
  • 2.5 วิศวกรรมระบบเมืองอัจฉริยะ** (Smart Urban System Engineering)
  • 2.6 การจัดการทรัพยากรน้ำ (Water Resources Management ) (ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ)
  • 2.7 นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน (สหาสาขาวิชา)***** (Innovation Engineering for Sustainability)

หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

1. วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 11 สาขาวิชา ประกอบด้วย

    • 1.1 วิศวกรรมเคมี* (Chemical Engineering)
    • 1.2 วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
    • 1.3 วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
    • 1.4 วิศวกรรมโยธา (นานาชาติ) (Civil Engineering)
    • 1.5 วิศวกรรมแหล่งน้ำ*(Water Resources Engineering)
    • 1.6 วิศวกรรมโลหการและวัสดุ* (Metallurgical and Materials Engineering)
    • 1.7 วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
    • 1.8 วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
    • 1.9 วิศวกรรมทรัพยากรธรณีและปิโตรเลียม (นานาชาติ) (Georesources and Petroleum Engineering)
    • 1.10 วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
    • 1.11 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
    • 1.12 วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)

2.วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.)  Doctor of Philosophy (Ph.D.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

  • 2.1  วิศวกรรมชีวเวช**** (สหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
  • 2.2 การจัดทรัพยากรน้ำ (Water Resources Management) (ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ)
  • หมายเหตุ

    • * หลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี วิศวกรรมแหล่งน้ำ และวิศวกรรมโลหการและวัสดุ ใช้ชื่อปริญญาภาษอังกฤษว่า “Doctor of Engineering (D.Eng.)”
    • ** รับผิดชอบโดยสำนักบริหารหลักสูตรวิศวกรรมนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์
    •  *** รับผิดชอบโดยศูนย์ระดับภูมิภาคทางวิศวกรรมระบบการผลิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ The University of Warwick, UK
    • **** หลักสูตรสหสาขาวิชา ย้ายสังกัดจากบัณฑิตวิทยาลัยมาสังกัดคณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554
    • ***** รับผิดชอบโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์
    • หลักสูตรปริญญาตรีข้อ 1.1, 1.3, 1.4, 1.7, 1.9, 1.10, 1.14 ได้รับการรับรองมาตรฐานจาก TABEE
    • (1) เป็นหลักสูตรร่วมปริญญาข้ามสถาบันกับบัณฑิตวิทยาลัย วิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    •  

      (2) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program)ร่วมกับ National Taiwan University, Taiwan

    • (3) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program)ร่วมกับ The Graduate School of Engineering of Hokkaido University, Japan
  • ภาควิชาของคณะศิลปกรรมศาสตร์ (Faculty of Fine and Applied Arts)

    คณะศิลปกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 4 ภาควิชา

    1. ดุริยางคศิลป์ (Music)
    2. ทัศนศิลป์ (Visual Arts)
    3. นาฏยศิลป์ (Dance)
    4. นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) Bachelor of Fine and Applied Arts (B.F.A.) 5 สาขาวิชาได้แก่

    • 1. ดุริยางคศิลป์ไทย (Thai Music)
    • 2. ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (Western Music)
    • 3. ทัศนศิลป์ (Visual Arts)
    • 4. นาฏยศิลป์ (Dance)
    • 5. นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 5 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 ดุริยางค์ไทย (Thai Music)
    • 1.2 นาฏยศิลป์ไทย (Thai Dance)
    • 1.3 ปฏิบัติการภัณฑารักษ์ (นานาชาติ)* (Curatorial Practice)
    • 1.4 ศิลปะบำบัด (นานาชาติ)* (Expressive Arts Therapy)
    • 1.5 ดนตรีบำบัด (นานาชาติ/สหสาขาวิชา)* (Music Therapy )

    2. ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.) Master of Fine and Applied Arts (M.F.A) 3 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
    • 2.2 ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (Western Music)
    • 2.3 ทัศนศิลป์ (Visual Arts) (ภาควิชาทัศนศิลป์)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศป.ด.) Doctor of Fine and Applied Arts (D.F.A.)

    2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  • 2.1 นาฏยศิลป์ไทย (Thai Theater Dance)

          3. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  • 3.1 นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)

          4. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  • 4.1 ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (Western Music) (ภาควิชาดุริยางคศิลป์)
  • หมายเหตุ

  • * รับผิดชอบโคยคณะศิลปกรรมศาสตร์
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) Bachelor of Economics (B.Econ.)

    2. ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 เศรษฐศาสตร์ (นานาชาติ) (Economics)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ศ.ม.) Master of Economics (M.Econ.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 เศรษฐศาสตร์ (Economics)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการจัดการบริการสุขภาพ (นานาชาติ) (Health Economics and Health Care Management)

    3. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 เศรษฐศาสตร์และการเงินระหว่างประเทศ (นานาชาติ) (International Economics and Finance)
    • 3.2 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ (นานาชาติ) (Business and Managerial Economics)
    • 3.3 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (นานาชาติ) (Applied Economics)
    • 3.4 เศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economy)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศ.ด.) Doctor of Philosophy (Economics) Ph.D. (Economics) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 เศรษฐศาสตร์ (นานาชาติ) (Economics)
  • หมายเหตุ

  • หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์นานาชาติได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ AUN-QA และเป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ The University of Bristol , UK
  • หลักสูตรปริญญาโท ข้อ 2.1 และ 3.1 รอปิด เนื่องจากได้ควบรวมอยู่ในหลกัสูตรที่ 3.3 เศรษฐศาสตร์ประยกุต์ (นานาชาติ)

 

  • ภาควิชาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (Faculty of Architecture)

    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่

    1. สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture)
    2. สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture)
    3. การวางแผนภาคและเมือง (Urban and Regional Planning)
    4. การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)
    5. ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)
    6. เคหการ (Housing)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) Bachelor of Architecture (B.Arch.) 4 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)
    • 1.2 สถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture)
    • 1.3 สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture)
    • 1.4 สถาปัตยกรรมผังเมือง (Urban Architecture)

    2. การออกแบบอุตสาหกรรมบัณฑิต (ออ.บ.) Bachelor of Industrial Design (B.I.D.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 การออกแบบอุตสาหกรรม (หลักสูตร 4 ปี) (Industrial Design)

    3. ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) (หลักสูตร 4 ปี) Bachelor of Fine and Applied  Arts (B.F.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 การออกแบบนิเทศศิลป์ (นานาชาติ) (Communication Design)

    4. ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) Bachelor of Landscape Architecture (B.L.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 4.1 ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)

    5. วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) (หลักสูตร 4 ปี) Bachelor of Science (B.Sc.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 5.1 การออกแบบสถาปัตยกรรม (นานาชาติ)* (Architectural Design)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.) Master of Architecture (M.Arch.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)
    • 1.2 การออกแบบสถาปัตยกรรม (นานาชาติ) (Architectural Design)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท..ม.) Master of Science (M.Sc.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)
    • 2.2 ยุทธศาสตร์เมือง (นานาชาติ) (Urban Strategies)

    3. การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (ผ.ม.) Master of Urban and Regional Planning (M.U.R.P.) 2 สาขาวิชาได้แก่

    • 3.1 การวางผังและออกแบบเมือง (Urban Planning and Design)
    • 3.2 การออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design)

    4. การออกแบบอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ออ.ม.) Master of Industrial Design (M.I.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 4.1 การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)

    5. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.) Master of Fine and Applied Arts  (M.F.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

                    5.1 การออกแบบนิเทศศิลป์ (นานาชาติ) (Communication Design)

           6. ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (ภ.สถ.ม.) Master of Landscape Architecture (M.L.A) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  •                    6.1 ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)

            7. เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต (คพ.ม.) Master of Housing Development (M. H. D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  •                 7.1 การพัฒนาที่อยู่อาศัยและอสังหาริมทรัพย์ (Housing and Real Estate Development)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สถ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)

    2. การวางแผนภาคและเมืองดุษฎีบัณฑิต (ผ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 การวางผังและออกแบบเมือง (Urban Planning and Design)
  • หมายเหตุ

  • *รับผิดชอบโดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
  • หลักสูตรปริญญาโท ข้อ 3.2 รอเปิดหลักสูตร เนื่องจากได้ควบรวมอยู่ในหลักสูตรลำดับที่ 3.1 ผ.ม.การวางผังและออกแบบเมือง

 

  • ภาควิชาของคณะสหเวชศาสตร์ (Faculty of Allied Health Sciences)

    คณะสหเวชศาสตร์ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
    2. เคมีคลินิก (Clinical Chemistry)
    3. จุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy)
    4. เวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก (Transfusion Medicine and Clinical Microbiology)
    5. โภชนาการและการกำหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics)
    6. รังสีเทคนิคและฟิสิกส์ทางการแพทย์ (Radiological Technology and Medical Physics)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) Bachelor of Science (Medical Technology) B.Sc. (Medical Technology) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 เทคนิคการแพทย์ (Medical Technology)

    2. วิทยาศาสตรบัณฑิต (กายภาพบำบัด) วท.บ. (กายภาพบำบัด) Bachelor of Science (Physical Therapy) B.Sc. (Physical Therapy) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 กายภาพบำบัด (Physical Therapy)

    3. วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) Bachelor of Science (B.Sc.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 โภชนาการและการกำหนดอาหาร* (Nutrition and Dietetics)
    • 3.2 รังสีเทคนิค** (Radiological Technology)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 5 สาขาวิชา ได้แก่

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
    2. ชีวเคมีคลินิกและอณูทางการแพทย์ (Clinical Biochemistry and Molecular Medicine)
    3. วิทยาศาสตร์โลหิตวิทยาคลินิก (Clinical Hematology Sciences)
    4. อาหารและโภชนาการ (นานาชาติ) (Food and Nutrition)
    5. วิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์และวิทยาภูมิคุ้มกัน (Molecular Science of Medical Microbiology and Immunology)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 5 สาขาวิชา ได้แก่

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
    2. ชีวเคมีคลินิกและอณูทางการแพทย์ (1) (Clinical Biochemistry and Molecular Medicine)
    3. อาหารและโภชนาการ (นานาชาติ) (Food and Nutrition)
    4. วิทยาศาสตร์โลหิตวิทยาคลินิก (2) (Clinical Hematology Sciences)
    5. วิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์และวิทยาภูมิคุ้มกัน (Molecular Science of Medical Microbiology and Immunology)
  • หมายเหตุ

  • *เปิดสอนทั้งโปรแกรมปกติและโปรแกรมเกียรตินิยม
  • **รับผิดชอบโดยคณะสหเวชศาสตร์ และภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์
  • (1) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Tohoku University Graduate School of Medicine (TUGSM), Japan, University of Technology Sydney (UTS), Australia และ Lund University, Sweden
  • (2) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ University of Technology Sydney (UTS), Australia และ Lund University, Sweden
  • (3) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ University of Technology Sydney , Australia
  • ภาควิชาของคณะสัตวแพทยศาสตร์ (Faculty of Veterinary Science)

    คณะสัตวแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 10 ภาควิชา ได้แก่

    1. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
    2. ภาควิชาสรีรวิทยา (Physiology)
    3. ภาควิชาสัตวบาล (Animal Husbandry)
    4. ภาควิชาเภสัชวิทยา (Pharmacology)
    5. ภาควิชาพยาธิวิทยา (Pathology)
    6. ภาควิชาศัลยศาสตร์ (Veterinary Surgery)
    7. ภาควิชาอายุรศาสตร์ (Veterinary Medicine)
    8. ภาควิชาสูติศาสตร์-เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ (Obstetrics, Gynaecology & Reproduction)
    9. ภาควิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข (Veterinary Public Health)
    10. ภาควิชาจุลชีววิทยา (Veterinary Microbiology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.) Doctor of Veterinary Medicine (D.V.M.) หลักสูตร 6 ปี

  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์คลินิก) Graduate Diploma of Veterinary Clinical Sciences (Grad. Dip. in Vet Clin.Sci.)

  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 10 สาขาวิชาได้แก่

    1. พยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ (Veterinary Pathobiology)
    2. เภสัชวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Pharmacology)
    3. ศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์ (Veterinary Surgery)
    4. สรีรวิทยาการสัตว์ (Animal Physiology)
    5. สัตวศาสตร์ประยุกต์ (Applied Animal Science)
    6. อาหารสัตว์ (Animal Nutrition)
    7. วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ (Theriogenology)
    8. อายุรศาสตร์สัตวแพทย์ (Veterinary Medicine)
    9. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการสัตวแพทย์ (นานาชาติ) **(Veterinary Science and Technology)
    10. ชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ (Veterinary Biosciences)

          หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

           ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์คลินิก) Higher Graduate Diploma of Veterinary Clinical Sciences (Higher Grad. Dip. of Vet Clin.Sci.)

  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Docter of Philosophy (Ph.D.) 8 สาขาวิชาได้แก่

    1. พยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ (Veterinary Pathobiology)
    2. สรีรวิทยาการสัตว์ (Animal Physiology)
    3. สัตวศาสตร์ประยุกต์ (Applied Animal Science)
    4. วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ (Theriogenology)
    5. อายุรศาสตร์สัตวแพทย์ (Veterinary Medicine)
    6. สัตวแพทยสาธารณสุข (Veterinary Public Health)
    7. ชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์* (Veterinary Biosciences)
    8. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการสัตวแพทย์ (นานาชาติ) **(Veterinary Science and Technology)
  • หมายเหตุ

  • *รับผิดชอบโดยภาควิชากายวิภาคศาสตร์ และหน่วยชีวเคมี ภาควิชาสรีรวิทยา
  • **รับผิดชอบโดยคณะสัตวแพทยศาสตร์
  • ภาควิชาของคณะอักษรศาสตร์ (Faculty of Arts)

    คณะอักษรศาสตร์ประกอบด้วย 11 ภาควิชา ได้แก่

    1. บรรณารักษศาสตร์ (Library Science)
    2. ประวัติศาสตร์ (History)
    3. ปรัชญา (Philosophy)
    4. ภาษาตะวันตก (Western Languages)
    5. ภาษาตะวันออก (Eastern Languages)
    6. ภาษาไทย (Thai)
    7. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
    8. ภาษาอังกฤษ (English)
    9. ภูมิศาสตร์ (Geography)
    10. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
    11. วรรณคดีเปรียบเทียบ (Comparative Literature)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. อักษรศาสตรบัณฑิต (อ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 18 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. สารนิเทศศึกษา (Information Studies)
    • 1.2 เทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ** (Language and Information Technology)
    • 1.3. ประวัติศาสตร์* (History)
    • 1.4. ปรัชญา* (Philosophy)
    • 1.5. ภาษาฝรั่งเศส* (French)
    • 1.6. ภาษาเยอรมัน (German)
    • 1.7. ภาษาสเปน (Spanish)
    • 1.8. ภาษาอิตาเลียน* (Italian)
    • 1.9. ภาษาญี่ปุ่น (Japanese)
    • 1.10. ภาษาเอเชียใต้ (South Asian Languages)
    • 1.11. ภาษาจีน* (Chinese)
    • 1.12 ภาษาเกาหลี (Korean)
    • 1.13. ภาษาไทย* (Thai)
    • 1.14. ภาษาอังกฤษ (English)
    • 1.15. ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (Geography and Geoinformatics)
    • 1.16. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
    • 1.17 วรรณกรรมโลกและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ (World Literature and Creative Writing)
    • 1.18 เทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ (Language and Information Technology)

    2. อักษรศาสตรบัณฑิต (อ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1. ภาษาและวัฒนธรรม (นานาชาติ) (1) (Language and Culture)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (อ.ม.) Master of Arts (M.A.) 12 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1.สารสนเทศศึกษา (ภาษาอังกฤษ) (Information Studies)
    • 1.2 การดูแลรักษาข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information Curation)
    • 1.3. ประวัติศาสตร์ (History)
    • 1.4. ปรัชญา (Philosophy)
    • 1.5. ภาษาบาลี-สันสกฤตและพุทธศาสน์ศึกษา (Pali -Sanskrit and Buddhist Studies)
    • 1.6. ภาษาไทย (Thai)
    • 1.7. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
    • 1.8 ภาษาต่างประเทศ***** (Foreign Languages)
    • 1.9. การแปลและการล่าม*** (Translation and Interpretation)
    • 1.10. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
    • 1.11. วรรณคดีเปรียบเทียบ (Comparative Literature)
    • 1.12. ไทยศึกษา (นานาชาติ)**** (Thai Studies)

    2.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1. ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (Geography and Geoinformatics) (ภาควิชาภูมิศาสตร์)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1.อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 9 สาขาวิชา ได้แก่

    1. สารสนเทศศึกษา (Information Studies)
    2. ประวัติศาสตร์ (History)
    3. ปรัชญา (Philosophy)
    4. ภาษาเยอรมัน (German)
    5. วัฒนธรรมและวรรณคดีญี่ปุ่น (Japanese Culture and Literature)
    6. ภาษาบาลี-สันสกฤตและพุทธศาสน์ศึกษา (Pali -Sanskrit and Buddhist Studies)
    7. ภาษาต่างประเทศ***** (Foreign Languages)
    8. ภาษาไทย (Thai)
    9. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
    10. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
    11. วรรณคดีเปรียบเทียบ (Comparative Literature)
    12. ไทยศึกษา (นานาชาติ)**** (Thai Studies)

      2.วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

      • 2.1. ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (Geography and Geoinformatics) (ภาควิชาภูมิศาสตร์)
  • หมายเหตุ

  • *เปิดสอนทั้งโปรแกรมปกติและโปรแกรมเกียรตินิยม
  • **รับผิดชอบโดยภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ และภาควิชาภาษาศาสตร์
  •  *** รับผิดชอบโดยภาควิชาภาษาอังกฤษ ภาควิชาภาษาตะวันตก ภาควิชาภาษาตะวันออก ภาควิชาภาษาไทย และภาควิชาภาษาศาสตร์
  • **** รับผิดชอบโดยศูนย์ไทยศึกษา
  • ***** รับผิดชอบโดยคณะอักษรศาสตร์
  • หลักสูตรปริญญาตรี และปริญญาโท ข้อ 1.1 ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ CILIP
  • หลักสูตรปริญญาเอกข้อง 1.4 และ 1.5 รอปิด เนื่องจากได้ควบรวมอยู่ในหลักสูตรลำดับที่ 1.7 ภาษาต่างประเทศ
  • (1) เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program)ร่วมกับ School of International Liberal Studies, Waseda University, Japanและ Faculty of Humanities, Arts and Social Sciences The University of Queensland, Australia
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศศ.วท.บ.) Bachelor of Arts and Science (B.A.S) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร (Agricultural Resources Administration)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 13 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 จุลชีววิทยาทางการแพทย์ (Medical Microbiology)
    • 1.2 สรีรวิทยา (Physiology)
    • 1.3 เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    • 1.4 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Science)
    • 1.5 การจัดการสารอันตรายและสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ) (Hazardous Substance and Environmental Management)
    • 1.6 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (Logistics and Supply Chain Management)
    • 1.7 ทันตชีววัสดุศาสตร์ (Dental Biomaterials Science)
    • 1.8 วิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยี (นานาชาติ) (Nanoscience and Technology)
    • 1.9 การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมผู้ประกอบการ (Technology Management and Innopreneurship)
    • 1.10 การบริหารกิจการทางทะเล (Maritime Administration)
    • 1.11 เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน** (Energy Technology and Management)
    • 1.12 ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาทางคอมพิวเตอร์ (นานาชาติ) (Bioinformatics and Computational Biology)
    • 1.13 การจัดการความเสี่ยงและภัยพิบัติ (Risk and Disaster Management)

    2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 7 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 การจัดการทางวัฒนธรรม (นานาชาติ) (Cultural Management)
    • 2.2 การจัดการทางวัฒนธรรม** (Cultural Management)
    • 2.3 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (นานาชาติ)(Southeast Asian Studies)
    • 2.4 ภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ (นานาชาติ) (English as an International Language)
    • 2.5 พัฒนามนุษย์และสังคม (Human and Social Development)
    • 2.6 เกาหลีศึกษา (นานาชาติ) (Korean Studies)
    • 2.7 สิ่งแวดล้อม การพัฒนาและความยั่งยืน (นานาชาติ)** (Environment, Development and Sustainability)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 13 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 จุลชีววิทยาทางการแพทย์ (Medical Microbiology)
    • 1.2 จุลชีววิทยาทางการแพทย์ (นานาชาติ) (Medical Microbiology)
    • 1.3 สรีรวิทยา (Physiology)
    • 1.4 เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    • 1.5 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Science)
    • 1.6 การจัดการสารอันตรายและสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ) (Hazardous Substance and Environmental Management)
    • 1.7 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (นานาชาติ) Logistics and Supply Chain Management (International Program)
    • 1.8 ชีวเวชศาสตร์ (Biomedical Sicences)
    • 1.9 ทันตชีววัสดุศาสตร์ (Dental Biomaterials Science)
    • 1.10 วิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยี (นานาชาติ) (Nanoscience and Technology)
    • 1.11 การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมผู้ประกอบการ (Technology Management and Innopreneurship)
    • 1.12 การบริหารกิจการทางทะเล (Maritime Administration)
    • 1.13 ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาทางคอมพิวเตอร์ (นานาชาติ) (Bioinformatics and Computational Biology)

    2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 ภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ (นานาชาติ) (English as an International Language)
    • 2.2 สิ่งแวดล้อม การพัฒนาและความยั่งยืน (นานาชาติ) (Environment, Development and Sustainability)
    • 2.3 ยุโรปศึกษา (นานาชาติ) (European Studies)
  • หมายเหตุ

  • * สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้เปิดชั่วคราวเป็นกรณีพิเศษ ตามระยะเวลาโครงการความร่วมมือทางวิชาการที่จุฬาฯ ให้แก่กระทรวงวัฒนธรรม
  • ** เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ Graduate School of Energy Science, Kyoto University, Japan
  •  *** เป็นหลักสูตรสองปริญญาข้ามสถาบัน (Double Degree Program) ร่วมกับ The Institute of Integrative Biology, School of Life Science, University of Liverpool, UK
  • หลักสูตรปริญญาเอกข้อ 2.1 รอปิดหลักสูตร
  • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์

    รับสมัครผู้ที่จบการศึกษาวุฒิปริญญาตรีที่สนใจปัญหาและแนวทางพัฒนาประชากร
    การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผู้สมัครสามารถเลือกสมัครแผน ก แบบ ก1 (เน้นวิจัย ทำวิทยานิพนธ์) หรือ แผน ก แบบ ก2 (เรียนรายวิชา ทำวิทยานิพนธ์) โดยผู้สมัครต้องมีความสามารถด้านภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด

    รายละเอียดหลักสูตร

  • หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์

    รับสมัครผู้ที่จบการศึกษาวุฒิปริญญาตรีและวุฒิปริญญาโทที่สนใจปัญหาและแนวทางพัฒนาประชากร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผู้สมัครสามารถเลือกสมัครแผนการเรียนที่เน้นวิจัย ทำวิทยานิพนธ์ หรือ แผนการเรียนที่เรียนรายวิชา ทำวิทยานิพนธ์ โดยผู้สมัครต้องมีความสามารถด้านภาษาอังกฤษ
    ผ่านเกณฑ์ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด หลักสูตรมีทุนค่าเล่าเรียนและทุนผู้ช่วยสอนเพื่อสนับสนุนผู้เรียน

    รายละเอียดหลักสูตร

  • รายละเอียดเพิ่มเติม

    • โทรศัพท์ 0 2218 7344
    • อีเมล academic_cps@chula.ac.th
    • เว็บไซต์ www.cps.chula.ac.th

จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม

รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า