รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
26 มิถุนายน 2566
ข่าวเด่น
ผู้เขียน ธิติรัตน์ สมบูรณ์
3 ก.ค. - 4 ส.ค. 66
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม และโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ขอเชิญชมนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะของนักเรียน อาจารย์และบุคลากรโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ครั้งที่ 9 : ศิลปนิวัต (The 9th Art Exhibition of the Students and Staff of CUD : AFTER SHOCK) ระหว่างวันที่ 3 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม 2566 (วันจันทร์ – ศุกร์) เวลา 09.00 – 17.00 น. ณ ห้องนิทรรศสถาน อาคารศิลปวัฒนธรรม และห้องนิทรรศการหมุนเวียนชั้น 1 อาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ สาระทัศนศิลป์ โดยโครงการเสริมศักยภาพทางด้านศิลปะ(Art Learning) ได้จัดนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะประเภทจิตรกรรม ภาพพิมพ์ และภาพถ่าย ผลงานของนักเรียน อาจารย์และบุคลากรซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 9 หลังจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 เพื่อพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้ในด้านการชื่นชมความงามทางศิลปะ ตระหนักในคุณค่าของงานศิลป์ ทำให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้ในด้านสุนทรียะ การจัดแสดงผลงานศิลปะจะเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นการแสดงความสามารถทางศิลปะของนักเรียนให้แสดงออกได้อย่างเต็มศักยภาพ ผลงานศิลปะของนักเรียนได้รับการยอมรับอย่างเป็นที่ประจักษ์ เสริมสร้างความมั่นใจ ความภาคภูมิใจในตนเอง และเป็นการเผยแพร่ผลงานศิลปะของนักเรียนสู่สาธารณชนอย่างกว้างขวางมากขึ้น
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาฯ โทร. 0-2218-3645-6
จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “เสว่ยหลง 2 และอนาคต” เสริมความร่วมมือไทย–จีน ด้านการวิจัยขั้วโลกและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร Durham University สหราชอาณาจักร หารือความร่วมมือทางวิชาการ
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมไทย ‘ตายมากกว่าเกิด’: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาฯ มุ่งขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Impactful Growth ในพื้นที่ จ.สระบุรี
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้