รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
26 ตุลาคม 2566
ข่าวเด่น
ผู้เขียน ธิติรัตน์ สมบูรณ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ International Peace Foundation ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดงาน the JAPAN-ASEAN BRIDGES event series การปาฐกถาในหัวข้อต่างๆ โดยผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และการแพทย์ จัดขึ้นระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2566 – มีนาคม 2567 ณ ประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนและยกระดับการพัฒนาในอนาคตผ่านการศึกษา
International Peace Foundation เป็นหน่วยงานไม่แสวงหาผลกำไร เพื่อสนับสนุนงานด้านสันติภาพ ให้การสนับสนุนโครงการ และงานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันความขัดแย้ง รวมถึงกลวิธีในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ส่งเสริมกิจกรรมด้านสันติ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดและทำความเข้าใจภายในสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
ติดตามกำหนดการกิจกรรม JAPAN-ASEAN BRIDGES event series ได้ที่
https://www.chula.ac.th/wp-content/uploads/2023/10/Timeline-info-4-min.pdf
ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเข้าฟังการปาฐกถาและติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.inter.chula.ac.th/chulalongkorn-university-bridges-nobel-laureate-talk-series/
ติดตามรับชมการปาฐกถาได้ทาง Facebook Live : https://www.facebook.com/ChulaOIA
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0-2218-3126
E-mail: int.off@chula.ac.th
Website : www.inter.chula.ac.th
ติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Website: https://www.peace-bridges.net/#KEYNOTE_SPEAKERS
อธิการบดีจุฬาฯ รับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริฯ ในพิธีต้อนรับเรือเสว่ยหลง 2 เยือนประเทศไทย
นักวิจัยจุฬาฯ ตัวแทนไทยร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมนักจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในองค์กร
บริษัทจำลองจุฬาฯ 2025 เปิดโครงการฝึกงานนิสิตภาคฤดูร้อน ภายใต้ปณิธาน “ทำงานด้วยใจ คืนกำไรสู่สังคม”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้