รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
30 สิงหาคม 2567
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ผู้เขียน วศินี ฤทธิ์ดี
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2567 สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาฯ จัดการประชุมหารือ “แนวทางปฏิบัติจามจุรีทรงปลูก” โดยร่วมกันศึกษาหาแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อยืดอายุและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการหักโค่นของกิ่งต้นจามจุรี อันอาจจะเป็นอันตรายแก่ชาวจุฬาฯ และเพื่อรักษาไว้ซึ่งต้นไม้ทรงปลูกในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รวมถึงมีการจัดตั้งทีมคณะทำงานที่ปรึกษา อาทิ ศ.กิตติคุณ เลอสม สถาปิตานนท์ รศ.ภาวดี อังศุสิงห์ รศ.ดร. บุญชัย แสงเพชรงาม รศ.ดร. วัฒนชัย สมิทธากร ผศ.ดร.กนกวลี สุธีธร อ.สืบสิริ ศรีธัญรัตน์ อ.ธีรรักษ์ มณีนาถ อ.หญิง ผโลปกรณ์ ร่วมกับทีมงานจากสำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาฯ โดยจะมีการติด cctv ติดตามกิจกรรม และเซ็นเซอร์ติดตามสภาพแวดล้อม ความเอียง รวมถึงการประเมินสุขภาพและประเมินความเสี่ยงสม่ำเสมอโดยแยกต้นมรดกพิเศษและต้นไม้ใหญ่ทั่วไป เพื่อติดตามผลสุขภาพต้นไม้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดระยะเวลากว่า 62 ปี ที่ “ต้นจามจุรี” อยู่คู่รั้วจุฬาฯ ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่มีมานานเทียบเท่ากับประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และเป็นสัญลักษณ์ที่เชื่อมความผูกพันระหว่างชาวจุฬาฯ เข้าไว้ด้วยกัน จุฬาฯ เล็งเห็นถึงคุณค่าที่ควรเก็บรักษา จึงได้มีวาระการประชุมต้นไม้ทรงปลูก เพื่อคอยวางแผนทะนุบำรุงต้นจามจุรีทรงปลูกทั้ง 5 ต้นนี้มาอย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ
บริษัทจำลองจุฬาฯ 2025 เปิดโครงการฝึกงานนิสิตภาคฤดูร้อน ภายใต้ปณิธาน “ทำงานด้วยใจ คืนกำไรสู่สังคม”
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ได้รับการรับรองให้เป็นผู้แทนประเทศไทยในสถาบันมาตรฐานและมาตรวิทยาแห่งประเทศอิสลาม
นักวิจัยจุฬาฯ ร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
ผู้บริหารจุฬาฯ ต้อนรับอธิการบดี Tohoku University ประเทศญี่ปุ่น หารือความร่วมมือทางวิชาการ
จุฬาฯ เชิญร่วมงาน President’s Distinguished Speaker ครั้งที่ 4 “From Turbulence to Triumph: การบินไทย จากฟื้นฟูสู่พุ่งทะยาน”
29 พฤษภาคม 2568 เวลา 13.00-16.00 น.
Facebook Live
ผู้แทนจาก Ohio University สหรัฐอเมริกาหารือการขยายความร่วมมือกับจุฬาฯ
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้