รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
4 พฤศจิกายน 2567
ข่าวเด่น, ความเป็นนานาชาติ, ภาพข่าว
เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยร่วมหารือความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยชิงหัว (Tsinghua University) สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมี Prof. Yang Bin, Vice President for International Affairs, Tsinghua University ให้การต้อนรับ
ผู้บริหารจุฬาฯ ที่เข้าร่วมหารือทางวิชาการในครั้งนี้ประกอบด้วย รศ.ดร.ปาลนี อัมรานนท์ รศ.ดร. มาโนช โลหเตปานนท์ รองอธิการบดีจุฬาฯ รศ.ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ คณบดีคณะอักษรศาสตร์ และ ศ.ดร.วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ พร้อมด้วยผู้แทนจากคณะและสถาบันที่เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา
การหารือความร่วมมือทางวิชาการระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยชิงหัว มุ่งเน้นความร่วมมือทางวิชาการในด้านต่าง ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) นวัตกรรม และการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและคณาจารย์ จากนั้นคณะผู้บริหารจุฬาฯ ได้เยี่ยมชม Institute for AI International Governance of Tsinghua University (I-AIIG) โดยมี Prof. Liang Zheng, Associate Dean, I-AIIG เป็นผู้นำชม ในการนี้ ผู้บริหารจุฬาฯ ได้พบปะนิสิตหลักสูตรวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร (ICE) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ที่เป็นนิสิตแลกเปลี่ยนมาศึกษาที่มหาวิทยาลัยชิงหัวด้วย
บริษัทจำลองจุฬาฯ 2025 เปิดโครงการฝึกงานที่นิสิตภาคฤดูร้อน ภายใต้ปณิธาน “ทำงานด้วยใจ คืนกำไรสู่สังคม”
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ได้รับการรับรองให้เป็นผู้แทนประเทศไทยในสถาบันมาตรฐานและมาตรวิทยาแห่งประเทศอิสลาม
นักวิจัยจุฬาฯ ร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
ผู้บริหารจุฬาฯ ต้อนรับอธิการบดี Tohoku University ประเทศญี่ปุ่น หารือความร่วมมือทางวิชาการ
จุฬาฯ เชิญร่วมงาน President’s Distinguished Speaker ครั้งที่ 4 “From Turbulence to Triumph: การบินไทย จากฟื้นฟูสู่พุ่งทะยาน”
29 พฤษภาคม 2568 เวลา 13.00-16.00 น.
Facebook Live
ผู้แทนจาก Ohio University สหรัฐอเมริกาหารือการขยายความร่วมมือกับจุฬาฯ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้