รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
5 กรกฎาคม 2566
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
ผู้เขียน เมธาพร ไตรกิจวัฒนกุล
คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ Eisenhower Fellows (EF) ขอเชิญร่วมการเสวนาทางวิชาการ ฬ.จุฬาฯ Seminar Series “ตบปากด้วยกฎหมาย : สู่การมี Anti-SLAPP Law ในประเทศไทย?” ในวันอังคารที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมสุรเกียรติ์ เสถียรไทย ชั้น 4 อาคารเทพทวาราวดี คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ หรือติดตามรับชมถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live ทาง Facebook : Faculty of Law, Chulalongkorn University
ฟังการปาฐกถาและการเสวนาในหัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจจากคณาจารย์ และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมาย สิทธิมนุษยชน ประกอบด้วย
ดำเนินรายการโดย อ.ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ
ดำเนินรายการและร่วมเสวนาโดย อ.ดร.พัชร์ นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ
ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเข้าฟังการเสวนาวิชาการได้โดยสแกนคิวอาร์โค้ดที่โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการและการแสดงดนตรีนานาชาติ เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลอง 108 ปีแห่งการสถาปนาจุฬาฯ และ 60 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย–สิงคโปร์
เชิญฟังบรรยาย Chula Lunch Talk : Cyber Security Insight รู้ก่อน รอดก่อน รับมือภัยไซเบอร์
จุฬาฯ จับมือ ม.มหิดล จัดงาน “CU x MU Sustainability Fest 2025” รวมพลังนิสิตนักศึกษาสองสถาบันแสดงศักยภาพสู่การสร้างสรรค์สังคมที่ยั่งยืน
เชิญชมนิทรรศการ “ดินสอพองและกาวเม็ดมะขาม: สู่ความงามบนพื้นผ้าใบ” ผลงานของศิลปิน นิสิตและคณาจารย์ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จับมือพันธมิตรไทย-ต่างชาติ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “2025 International Symposium in Music Therapy” เสนอผลงานวิจัยด้านดนตรีบำบัดจากผู้ทรงคุณวุฒิระดับโลก
เชิญร่วมงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ “108 ปี จามจุรีประดับใจ” 26 มีนาคม 2568
26 มี.ค. 68
สนามหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้