รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
22 สิงหาคม 2566
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ, งานวิจัยและนวัตกรรม
ผู้เขียน ธิติรัตน์ สมบูรณ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงตวามยินดีกับนิสิตภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับรางวัลงานประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษา จัดโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช) ระหว่างวันที่ 7-9 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเซนทรา เซนทรัลเวิลด์ โดยคว้ามาได้ 5 เหรียญทอง 3 เหรียญเงิน 2 เหรียญทองแดง ในกลุ่มการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมทั้งรางวัลการเขียนข้อเสนอโครงการ และรางวัลนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ผลงานต่างๆ ที่ได้รับรางวัลมีดังนี้
ระดับบัณฑิตศึกษา รางวัลเหรียญทอง
– คราฟติฟาย แพลตฟอร์มเพื่อการร่วมสร้างสรรค์หัตถกรรมจักสาน ผลงานของ น.ส.ปรียศรี พรหมจินดา
รางวัลที่ได้รับ
– “ลายน่านมีสุข” กิจกรรมสร้างสุขให้ผู้สูงอายุด้วยการเรียนรู้ศิลปะพื้นบ้าน ผลงานของ นายสุชาติ อิ่มสำราญ
– “Sand-Sanook” ชุดกิจกรรมเล่นทรายประกายมุกจากเปลือกหอยแมลงภู่ ผลงานของ นายสุชาติ อิ่มสำราญ รางวัลที่ได้รับ
– กล่องสร้าง กล่องศิลป์ ผลงานของ น.ส.จันทนา ชัยโอภานนท์ รางวัลระดับเหรียญทอง
– “นิทานพัฒนาทักษะ 7Q ชุดแบร์รี่แคนดู สู่ 7Q สำหรับเด็กปฐมวัย” ผลงานของ นายกิตติชัย จันทร์แดง รางวัลระดับเหรียญทอง
ระดับบัณฑิตศึกษา รางวัลเหรียญเงิน
– นวัตกรรมรูปแบบการเรียนรู้ศิลปะเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ทางสุนทรียะสำหรับบุคคลทั่วไป ผลงานของ น.ส.ณัชชา เอกนาวา
– เว็บไซต์การเรียนรู้ศิลปะเหนือจริงในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) ผลงานของ นายพิทักษ์พงศ์ พงศ์กระพันธุ์
– ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิปัญญาผ้าทอท้องถิ่นไทย อัตลักษณ์ผ้าทอเมืองศรี ผลงานของ น.ส.อุษณา พิมพร
ระดับบัณฑิตศึกษา รางวัลเหรียญทองแดง
– ชุดกิจกรรมสร้างสรรค์ลวดลายจานสังคโลกเสมือนจริง ผลงานของ น.ส.ญาณาริณ พากเพียร- ชุดการเรียนรู้เทพเจ้าฮินดู ผลงานของ น.ส.มุทิตา เทพบางจาก
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ แถลงข่าวความสำเร็จ “วัคซีนไอกรน (รุ่นใหม่)” นวัตกรรมเพื่อคนไทยและตลาดโลก
นักกีฬาบุคลากรจุฬาฯ ร่วมการแข่งขัน “ตุมปังเกมส์ 2025” ร่วมพิธีสักการะพระบรมสาทิสลักษณ์รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6
ศูนย์หนังสือ จุฬาฯ จัดเสวนา “SPEED RUN 2025 : จาก 0 สู่ 100 ล้าน โตเร็วกว่าใครในโลกออนไลน์”
2 พ.ค. 68 เวลา 15.30 -17.00 น.
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ สยามสแควร์
เสวนา “eDNA กับความยั่งยืนของทรัพยากรทางน้ำของประเทศไทย” ภายใต้วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์บูรณาการ 9 สถาบันวิจัยหลักแห่งจุฬาฯ
เชิญร่วมการสัมมนาเรื่อง “ฐานข้อมูลด้านแรงงาน: ที่มีอยู่ การนำไปใช้ และแนวทางต่อไป”
2 พ.ค. 68
Zoom Meeting
อบรมบุคลากรศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ หลักสูตร “Mindset กับการสื่อสารเพื่องานบริการ”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้