รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
18 กันยายน 2566
ข่าวเด่น
ผู้เขียน ชาติสยาม หม่อมแก้ว
10 ต.ค. 66 13.30 น.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ขอเชิญคณาจารย์ และบุคลากรจุฬาฯ เข้าร่วมกิจกรรม MMS Talk ปี 2023 ครั้งที่ 4 ในหัวข้อ “Techniques of Storytelling and Being a Storyteller: เทคนิคการเล่าเรื่องและก้าวสู่การเป็นนักเล่าเรื่องที่ดี” ในวันอังคารที่ 10 ตุลาคม 2566 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องทรูออดิทอเรียม ตึก 3 ชั้น 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
พบกับเนื้อหา “เทคนิคการเล่าเรื่อง” ที่น่าสนใจ ได้แก่ ทักษะการเล่าเรื่องเพื่อสร้างห้องเรียนที่มีเรื่องราว การพัฒนาอวัจนภาษา (สีหน้า สายตา น้ำเสียง ท่าทาง) ในการสื่อสารเพื่อการเล่าเรื่อง การสื่อสารผ่านน้ำเสียงและการตีความเพื่อการเล่าเรื่อง และหลักการเล่าเรื่องด้วยอารมณ์ขันและความรื่นรมย์ โดยมี ผศ. ดร.สุกัญญา สมไพบูลย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย วิรัชกิจ บริการวิชาการและเชื่อมโยงสังคม คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ เป็นวิทยากรดำเนินรายการโดย อ. ดร.พรรณราย ศิริเจริญ
ลงทะเบียนได้ที่ https://tinyurl.com/mms3-2023-06-signup
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0-2218-7830 หรือ E-mail: research.eng.chula@gmail.com
ปัจจัยผลกระทบต่อรายได้และการเติบโต ธุรกิจ Education Technology (EdTech) ในประเทศไทย
รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย อดีตอาจารย์คณะวิศวฯ จุฬาฯ ได้รับการประกาศเกียรติคุณ “Friend of Thai Science 2024”
เศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ เจ้าภาพจัดงานประชุมระดับโลก AASLE 2024 ครั้งแรกในไทย รวมนักเศรษฐศาสตร์แรงงานจากทั่วโลกร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และนำเสนอผลงานวิจัย
สัมมนาเรื่อง EDCs สารเคมีที่ส่งผลต่อสุขภาพและระบบนิเวศ
“Nifty Elderly: ของเล่นของแต่งบ้านเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์เด็กเล็กและผู้สูงวัย”ผลงานอาจารย์ครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลเหรียญทองการประกวดนวัตกรรมที่ฮ่องกง
อาจารย์คณะครุศาสตร์ – วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาฯ และนักเรียนสาธิตจุฬาฯ คว้ารางวัลเหรียญทองจากการประกวดนวัตกรรมนานาชาติ KIDE 2024 ที่ไต้หวัน
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้