รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
30 ตุลาคม 2562
ภาพข่าว
ในโอกาสครบรอบ 21 ปีแห่งการสถาปนาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาฯ เมื่อวันพุธที่ 30 ตุลาคม 2562 ผศ.ดร.สิทธา พงษ์พิบูลย์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาฯ นำสื่อมวลชนสัมผัสความทันสมัยของผลงานวิจัยและนวัตกรรมของคณะฯ ที่ได้มาตรฐานเทียบเท่าระดับนานาชาติ ซึ่งนำมาใช้ในการเรียนการสอน เสริมศักยภาพการเรียนรู้ของนิสิตได้อย่างดียิ่ง สำหรับนวัตกรรมที่นำมาแสดงต่อสื่อมวลชนนั้น ประกอบด้วย
อุโมงค์น้ำ (Swimming Flume) เป็นเครื่องเดียวในประเทศและเครื่องเดียวในภูมิภาคอาเซียน มูลค่ากว่า 30 ล้านบาท ที่ได้รับการออกแบบเพื่อใช้สำหรับการฝึกซ้อมและการทดสอบสำหรับนักว่ายน้ำ โดยมีคุณสมบัติสามารถสร้างกระแสน้ำ และควบคุมความเร็วของกระแสน้ำได้ตามต้องการด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เครื่องวิเคราะห์แก๊ส (Gas Analysis) เครื่องมือสำหรับใช้ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานของหัวใจและปอด มาตรฐานเดียวกับที่ทีมในระดับสโมสรพรีเมียร์ลีก อังกฤษ ใช้วัดสมรรถนะของหัวใจและตรวจเช็คความพร้อมของนักกีฬา สามารถใช้งานร่วมกับจักรยานวัดพลังงานหรือลู่วิ่ง เพื่อวิเคราะห์กลไกในร่างกายขณะออกกำลังกาย จำนวน 5 เครื่อง
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งขึ้นโดยพัฒนามาจากภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ โดยได้รับอนุมัติจากสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการประชุมเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2541
จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “เสว่ยหลง 2 และอนาคต” เสริมความร่วมมือไทย–จีน ด้านการวิจัยขั้วโลกและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร Durham University สหราชอาณาจักร หารือความร่วมมือทางวิชาการ
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมไทย ‘ตายมากกว่าเกิด’: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาฯ มุ่งขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Impactful Growth ในพื้นที่ จ.สระบุรี
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้