รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
28 มกราคม 2563
ข่าวเด่น
จากเหตุการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (2019-nCoV) ที่พบกรณีผู้ติดเชื้อในประเทศไทยแล้วนั้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีความห่วงใยในสถานการณ์ดังกล่าวและผลกระทบต่อสมาชิกในประชาคม จึงขอแจ้งเตือนและขอความร่วมมือเพื่อช่วยในการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคเพิ่มเติมจากประกาศฉบับที่ 1 ดังนี้
ผู้ที่ต้องการลาหยุดสามารถกรอกแบบฟอร์มออนไลน์เพื่อขออนุญาตลาหยุดเป็นกรณีพิเศษและเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังโรคได้ลิ้งก์ต่อไปนี้ (แบบฟอร์มการลา) ในระหว่างนั้น หากพบว่า มีอาการไข้ มีอาการทางระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก หายใจเหนื่อยหอบ ให้สวมหน้ากากอนามัย และรีบไปพบแพทย์ทันที เนื่องจากมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนปอดบวม และมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
ทั้งนี้ สมาชิกของประชาคมจุฬาฯสามารถรับคำปรึกษาเกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังอาการจากการติดเชื้อไวรัส 2019-nCoV จากศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ตลอด 24 ชั่วโมงที่เบอร์ 080-441-9041
ในขณะนี้ มีนิสิตจากสาธารณรัฐประชาชนจีนศึกษาอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรวม 172 คน ซึ่งทางมหาวิทยาลัยได้มีการสื่อสารตรงกับนิสิตกลุ่มนี้เป็นระยะๆ ผ่านโปรแกรมสนทนาออนไลน์กลุ่มและอีเมลเพื่อแจ้งแนวทางในการปฏิบัติตัวและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค และได้รับความร่วมมือที่ดีมาโดยตลอด
ทั้งนี้ ขอให้นิสิต คณาจารย์ และบุคลากรติดตามสถานการณ์โดยไม่ตื่นตระหนก และรอฟังประกาศจากมหาวิทยาลัยต่อไป มหาวิทยาลัยขอขอบคุณในความร่วมมือและความเข้าใจของทุกท่านมา ณ ที่นี้
จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “เสว่ยหลง 2 และอนาคต” เสริมความร่วมมือไทย–จีน ด้านการวิจัยขั้วโลกและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร Durham University สหราชอาณาจักร หารือความร่วมมือทางวิชาการ
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมไทย ‘ตายมากกว่าเกิด’: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาฯ มุ่งขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Impactful Growth ในพื้นที่ จ.สระบุรี
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้