รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
28 เมษายน 2565
ข่าวเด่น, หลักสูตรระยะสั้น
ผู้เขียน เมธาพร ไตรกิจวัฒนกุล
ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เปิดรับบุคคลภายนอกเข้าร่วมเรียนรายวิชาที่ภาควิชาเปิดสอนในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2565 โดยวิธีการจัดการเรียนการสอนเป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 อาจมีทั้งการจัดการเรียนการสอนในสถานที่ (onsite) แบบออนไลน์ (online) และแบบผสมผสาน (blended learning) สามารถร่วมเรียนรายวิชาของภาควิชาภาษาศาสตร์ในแต่ละภาคการศึกษาได้ไม่เกิน 3 รายวิชาสำหรับระดับปริญญาตรี และไม่เกิน 2 รายวิชาสำหรับระดับบัณฑิตศึกษา ดังต่อไปนี้
รายวิชาระดับปริญญาตรี
– พื้นฐานการเขียนโปรแกรมเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Basic programming for natural language processing) วันศุกร์ 13.00-16.00 น.
– ภาษาและความคิด (Language and mind) วันอังคาร 09.30-12.30 น.
– คลังข้อมูลภาษา (Language corpora) วันอังคาร 13.00-16.00 น.
วิชาระดับบัณฑิตศึกษา
– สัทศาสตร์และสัทวิทยา (Phonetics and phonology) วันพฤหัสบดี 16.30-19.30 น.
– วากยสัมพันธ์ (Syntax) วันพุธ 13.00-16.00 น.
– ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (Historical linguistics) วันศุกร์ 13.00-16.00 น.
– การเขียนโปรแกรมเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Programming for Natural Language Processing) วันศุกร์ 13.00-16.00 น.
– ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล (Corpus linguistics) วันอังคาร 13.00-16.00 น.
ผู้ประสงค์สมัครเข้าร่วมเรียนสามารถกรอกใบสมัครได้ที่ https://bit.ly/3JIVtwB ภายในวันที่ 20 พฤษภาคม 2565
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม E-mail : linguistics@chula.ac.th
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ เชิญร่วมฟังเสวนา “ธุรกิจไทยหลังนโยบาย Trump”
อบรมเชิงปฏิบัติการ “Work Fit By Chula ทำงานก็ต้องฟิต บุคลิกและสุขภาพต้องดี”
งานแถลงข่าว “จุฬาฯ-การบินไทย: ความรู้คู่ฟ้า Chula-TG: Be the Star in the Sky of Knowledge”
1 พ.ค. 68 เวลา 14.00 -16.00 น.
เรือนจุฬานฤมิต
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ แถลงข่าวความสำเร็จ “วัคซีนไอกรน (รุ่นใหม่)” นวัตกรรมเพื่อคนไทยและตลาดโลก
นักกีฬาบุคลากรจุฬาฯ ร่วมการแข่งขัน “ตุมปังเกมส์ 2025” ร่วมพิธีสักการะพระบรมสาทิสลักษณ์รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6
ศูนย์หนังสือ จุฬาฯ จัดเสวนา “SPEED RUN 2025 : จาก 0 สู่ 100 ล้าน โตเร็วกว่าใครในโลกออนไลน์”
2 พ.ค. 68 เวลา 15.30 -17.00 น.
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ สยามสแควร์
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้