รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
30 เมษายน 2565
ภาพข่าว
เมื่อวันศุกร์ที่ 29 เมษายน 2565 ณ ศูนย์กลางนวัตกรรมทางสังคมแห่งจุฬาฯ (CU Social Innovation Hub) ชั้น 1 อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ สถาบันการขนส่ง จุฬาฯ ร่วมกับ MAYDAY หรือกลุ่มคนที่รณรงค์ให้ขนส่งสาธารณะเป็นมิตรต่อคนทุกคน จัดงาน “100 วัน หมอกระต่าย ก้าวต่อไปบนทางเท้า” เนื่องในวาระครบรอบ 100 ปี วันเหตุการณ์ที่ พญ.วราลัคน์ สุภวัตรจริยากุล หรือคุณหมอกระต่าย เสียชีวิตจากอุบัติเหตุถูกรถชนบริเวณทางม้าลาย เพื่อรณรงค์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการขับขี่ในสังคมไทย และสร้างความตระหนักรู้ว่าทุกคนเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดความปลอดภัยบนท้องถนนได้ โดยมี รศ.ดร.ปราโมช โลหเตปานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันการขนส่ง จุฬาฯ กล่าวต้อนรับผู้ร่วมงาน
กิจกรรมภายในงาน ผู้ร่วมงานสงบนิ่งเพื่อระลึกถึงคุณหมอกระต่าย สถาบันการขนส่งแนะนำโครงการ “เพื่อนแท้ร่วมทาง” และโครงการ “ทางม้าลายกระต่ายน้อย” คุณรัชนี สุภวัตรจริยากุล มารดาคุณหมอกระต่ายรับมอบสติกเกอร์ “รถคันนี้จอดให้คนข้าม” และ “รถคันนี้ไม่ฝ่าไฟแดง” ต่อด้วยวิดีทัศน์ “สัญญาจากผู้ว่า กทม. ความปลอดภัยบนท้องถนน” เพื่อสร้างความปลอดภัยบนทางเท้าและถนนใน กทม.วิสัยทัศน์และแนวทางทำให้ถนนและทางเท้าปลอดภัย ในโอกาสนี้ คุณรัชนี สุภวัตรจริยากุล มารดา คุณหมอกระต่าย ร่วมรับฟังการให้คำมั่นสัญญาของผู้สมัครผู้ว่า กทม. เรื่องแนวทางการลดจำนวนอุบัติเหตุและการเสียชีวิตทางถนนใน กทม.
ศศินทร์เปิดหลักสูตรระยะสั้น Radical Innovation in Family Business: Transforming for the Future
18 - 19 มิถุนายน 2568 เวลา 09.00 - 16.30 น. ศศินทร์
จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “เสว่ยหลง 2 และอนาคต” เสริมความร่วมมือไทย–จีน ด้านการวิจัยขั้วโลกและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร Durham University สหราชอาณาจักร หารือความร่วมมือทางวิชาการ
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมไทย “ตายมากกว่าเกิด”: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้