รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
11 สิงหาคม 2566
ข่าวเด่น
ผู้เขียน ชาติสยาม หม่อมแก้ว
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าศึกษาโครงการ Chula Engineering สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) รอบที่ 3 ปี 2566
ผู้เข้าร่วมโครงการจะได้เรียนกับอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เมื่อเข้าเรียนครบตามข้อกำหนดของรายวิชา จะได้รับประกาศนียบัตรรับรองการเข้าร่วมอบรม สามารถขอสอบเพื่อสะสมหน่วยกิตในระบบคลังหน่วยกิต (Credit Bank) เพื่อขอเทียบโอนหน่วยกิตเมื่อเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาโท (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาวิชานวัตวิศวกรรมเพื่อความยั่งยืน) มีการพาไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ในบางรายวิชา
รายวิชาที่เปิดสอน อาทิ แนวโน้ม เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวม : นวัตกรรมการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ EEC ความรู้พื้นฐานด้านการวางผังเมืองและระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานอย่างยั่งยืน เป็นต้น
เปิดรับสมัคร : ตั้งแต่บัดนี้ – 25 สิงหาคม 2566
ประกาศผลการคัดเลือก : วันที่ 30 สิงหาคม 2566
ผู้สนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้โดยสแกน QR Code ที่โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ภารกิจบูรณาการการศึกษา ฝ่ายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ โทร. 0-2218-7812
E-mail: lifelonglearning_program@eng.chula.ac.th
แอดไลน์เพื่อสอบถามข้อมูล https://lin.ee/Gm5q6qe
ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่องการช่วยเหลือนิสิตและบุคลากรกรณีเหตุแผ่นดินไหว
ประกาศ สํานักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเรื่อง ระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยยังคงใช้งานได้ตามปกติ
ประกาศ สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่องความเสียหายจากเหตุแผ่นดินไหวและมาตรการเพื่อความปลอดภัยในพื้นที่อาคารสูง
7 ข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดย ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ
ประกาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง การงดการใช้อาคารและกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยเนื่องจากเหตุแผ่นดินไหว
จุฬาฯ จัดกิจกรรม “บุญสุนทาน” เดือนมีนาคม ตักบาตรพระสงฆ์ ณ เรือนไทย จุฬาฯ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้