รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
7 กันยายน 2565
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ผู้เขียน สมบูรณ์ พัฒนปรีชาเสถียร
เมื่อวันศุกร์ที่ 2 กันยายน 2565 สำนักบริหารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเจ้าภาพจัดงานสัมมนาพิเศษ ครั้งที่ 30 (The 30th Special CU-af Seminar 2022) ในหัวข้อเรื่อง “Research to Excellence for Sustainability” และพิธีมอบทุนผลงานวิจัยจาก the Asahi Glass Foundation ณ ห้องประชุม 202 และ 203 อาคารจามจุรี 4
ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาฯ กล่าวต้อนรับผู้ร่วมงาน ศ.ดร.จักรพันธ์ สุทธิรัตน์ รองอธิการบดี กล่าวรายงาน Mr.Hiroyuki Watanabe, Senior Executive Director มูลนิธิกระจกอาซาฮี ประเทศญี่ปุ่น กล่าวแสดงความยินดีแก่อาจารย์และนักวิจัยในพิธีมอบทุนวิจัยประจำปี 2565 ซึ่งมีผู้ที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติโครงการวิจัย ได้แก่
– ผศ.ดร.ศุภฤกษ์ ประเสริฐธรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์
– ผศ.ภญ.ดร.จิตติมา ลัคนากุล คณะเภสัชศาสตร์
– ดร.พิชญา อินนา คณะวิทยาศาสตร์
– ดร.เรืองวิทย์ สว่างแก้ว สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
– อ.ดร.ชัยบุตร อริยะเชษฐ คณะแพทยศาสตร์
– อ.ดร.ธีระยุทธ เพ็งสะอาด คณะวิศวกรรมศาสตร์
– ผศ.ดร.ธนธรณ์ ขอทวีวัฒนา คณะวิทยาศาสตร์
– อ.ดร.จัญจุดา อุ่นเรืองศรี คณะวิทยาศาสตร์
– อ.ดร.ณัฐภณ ป้อมบุบผา คณะวิทยาศาสตร์
– อ.ดร.ชณัท อ้นบางเขน คณะวิทยาศาสตร์
ในการนี้ มีการบรรยายพิเศษโดย ศ.ดร.ยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์ รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ จุฬาฯ ในหัวข้อเรื่อง “Intermediary Role in Driving Impactful Materials Research: From Kawasaki Fontale’s Chanathip to a Research Group that builds Industrial Clusters and iBDS” จากนั้นมีการแบ่งกลุ่มนำเสนอผลงานวิจัยโดยอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยในปีที่ผ่านมาจำนวน 8 ท่าน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 Physical science 4 ท่าน ได้แก่
– ดร.มนัญญา โอฆวิลัย สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ นำเสนอในหัวข้อ “Development of polyacrylonitrile/bio-related polyurethane electrospun fiber mats as separator in Zn-ion battery”
– รศ.ดร.จุฑามาศ รัตนวราภรณ์ หลักสูตรสหสาขาวิชาวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวกรรมศาสตร์ นำเสนอในหัวข้อ “Comparative Study of Silk Fibroin-Based Hydrogels and Their Potential as Material for 3-dimensional (3D) Printing”
– ดร.มนัสวี สุทธิพงษ์ ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ นำเสนอในหัวข้อ “Improvement of Aqueous Zinc-ion Battery Performance by combining Experiments and Molecular Dynamics Simulations”
– ผศ.ดร.ศิริชัย ลีลาเชาว์ ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ นำเสนอในหัวข้อ “The effect of ZrO2 addition on nickel aluminide developments on pure nickel substrate prepared by pack aluminization”
กลุ่มที่ 2 Life science นำเสนอผลงานวิจัย 4 ท่าน ได้แก่
– ดร.วิไลลักษณ์ นิยมมณีรัตน์ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม นำเสนอในหัวข้อ “Enhancing Local Capability toward Sustainable Municipal Solid Waste Management: Case Study of Nan Municipality, Thailand”
– ดร.สิระ ศรีสวัสดิ์ ฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ นำเสนอในหัวข้อ “Label-Free Identification and Classification of Circulating Tumor Cells using Deep Learning and High-Content Imaging”
– ดร.ยศวดี ฮะวังจู สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ นำเสนอในหัวข้อ “Characterization and product distribution via thermal conversion of abandoned, lost or otherwise discarded fishing gear (ALDFG) waste”
– ดร.เพียว เมียะ ทู สถาบันเอเชียศึกษา นำเสนอในหัวข้อ “Who will Take Over the Farm?: Youth Farmers and Agrarian Transition in Timor-Leste”
เชิญร่วมงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ “108 ปี จามจุรีประดับใจ” 26 มีนาคม 2568
26 มี.ค. 68
สนามหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล
เชิญชาวจุฬาฯ ร่วมงาน “สงกรานต์รวมใจ วิถีไทย จุฬาฯ สืบสานประเพณี”
จุฬาฯ เชิญบุคลากรตรวจสุขภาพประจำปี โดย Walk-in ได้ พิเศษปีนี้เพิ่มตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
สัมมนาวิชาการ “โอกาสทางเศรษฐกิจการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวของประเทศไทยในคาซัคสถาน”
พิธีเปิดกิจกรรม Enrichment Program for CU รุ่นที่ 2 และกิจกรรมประเมินความสุข (CU Happiness)
มีนาคม - กรกฎาคม 2568
PMCU เปิดโอกาสให้เยาวชนไทยประกวดออกแบบพื้นที่อุทยาน 100 ปีจุฬาฯ ให้เป็นสวนแห่งความสุข ภายใต้แนวคิด CHULA FOR ALL
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้