รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
14 มีนาคม 2566
ข่าวเด่น
ผู้เขียน ธิติรัตน์ สมบูรณ์
16 - 22 มี.ค. 2566
อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตสวีเดนประจำประเทศไทย เชิญคณะผู้เชี่ยวชาญด้านการฟื้นฟูป่าไม้และสถาปนิกออกแบบเมืองจากไม้ (Wood cities) จากประเทศสวีเดนลงพื้นที่แลนด์มาร์กสีเขียวใจกลางกรุงเทพฯ “อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ” ร่วม Workshop: “Urban Green Infrastructure” ออกแบบพื้นที่สีเขียวสู่เมืองยั่งยืน ในวันพฤหัสบดีที่ 16 มีนาคม 2566 โดยคุณ สัจจพงศ์ เล็กอุทัย Design Director บริษัท LANDPROCESS ร่วมแลกเปลี่ยนแรงบันดาลใจในการออกเปลี่ยนพื้นที่รกร้างสู่การออกแบบพื้นที่vสีเขียวในเมืองใหญ่ พร้อมกับช่วยแก้ปัญหาน้ำท่วมไปพร้อมๆ กัน
กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของงาน Thailand – Sweden Sustainability Week 2023 สัปดาห์แห่งความยั่งยืนไทย – สวีเดน ระหว่างวันที่ 16 – 22 มีนาคม 2566
อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ เป็นมากกว่าสวนสาธารณะ เนื่องจากมีการออกแบบที่เข้าใจธรรมชาติและชุมชน มีการบริหารจัดการน้ำแบบหมุนเวียนแบบสมบูรณ์ ด้วยพื้นที่ลาดเอียง ช่วยควบคุมการไหลเวียนของน้ำ มีการสร้างแหล่งกักเก็บน้ำเพื่อใช้รดต้นไม้ รวมทั้งปลูกพืชที่บำบัดน้ำเสียและเพิ่มออกซิเจนในน้ำ นอกจากนี้ ยังมี ‘Green Roof’ หรือการปลูกต้นไม้ปกคลุมบนหลังคา เพื่อประหยัดพื้นที่ใช้สอย นอกจากจะช่วยลดอุณหภูมิความร้อนจากคอนกรีต สร้างความร่มเย็นให้อาคารแล้ว ยังเป็นบ้านและแหล่งอาหารให้กับเหล่านกแมลง เพื่อเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพให้กับเมือง (BiodiverCity) เกิดเป็นห้องเรียนธรรมชาติใจกลางเมืองให้ทุกคนมีพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ คลายเครียดและมีกิจกรรมร่วมกันในสังคม (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://pmcu.co.th/?page_id=9921)
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: Facebook: TNIU Thailand and Nordic Countries Innovation Unit
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
สังคมไทย ‘ตายมากกว่าเกิด’: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
อธิการบดีจุฬาฯ รับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีต้อนรับเรือเสว่ยหลง 2 เยือนประเทศไทย
นักวิจัยจุฬาฯ ตัวแทนไทยร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
การบรรยายพิเศษโครงการ Asia Forward Series ครั้งที่ 3 หัวข้อ “Navigating a Fragmented World: Asia’s Role in the Changing Global Order” โดยนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมนักจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในองค์กร
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้