รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
2 มิถุนายน 2566
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
ผู้เขียน ขนิษฐา จันทร์เจริญ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาฯ ขอเชิญชวนนักเรียนระดับมัธยมปลาย หรือนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ไม่จำกัดสาขา หรือคณะที่เรียน ส่งผลงานเข้าร่วมแข่งขันสร้างแอปพลิเคชัน ชิงเงินรางวัลรวม 100,000 บาท เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา ในการนำข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าและข้อมูลคุณภาพอากาศที่มาจากอุปกรณ์ตรวจวัดต่าง ๆ ภายในเมืองหรือชุมชน มาพัฒนาสร้างเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือแอปพลิเคชัน เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ประชาชน รวมถึงเพื่อการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์หรือบริการที่สามารถตอบสนองนโยบายเมืองอัจฉริยะได้ในอนาคต
คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ เป็นนักเรียนระดับมัธยมปลาย หรือนิสิต นักศึกษา ทุกสาขาวิชา คณะ มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา กำลังศึกษาอยู่ไม่เกินระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จำนวนไม่เกิน 20 ทีม ทีมละไม่เกิน 3 คน รวมทั้งสิ้นไม่เกิน 60 คน เปิดรับสมัครและส่งผลงานตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2566 โดยการสแกนคิวอาร์โค้ดได้ที่ด้านล่างโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
ผู้สนใจติดต่อสอบถามรายละเอียยเพิ่มเติมได้ที่ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ โทร. 0-2218-6490 หรือสามารถเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ที่ https://cusmart.chula.ac.th/
การเปิด – ปิดประตูจุฬาฯ และการจัดการจราจรในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2565
โปรโมชั่นฉลองเทศกาลรับปริญญาจุฬาฯ GRADUATION GIFTS 2023
“โคม คราฟท์: นวัตกรรมศิลปะพื้นบ้าน เพื่อการตกแต่งอย่างยั่งยืน” ผลงานอาจารย์และนิสิตจุฬาฯ ได้รับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรมที่อินโดนีเซีย
อบรม “การเพิ่มศักยภาพของผู้มีส่วนได้เสียในการท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ”
16 ตุลาคม 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น.
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา
“ประติมากรรมเสียงสวรรค์” ศิลปะผสานเทคโนโลยีที่หน้าคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
จุฬาฯ ครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย จากสถาบันหลักของโลก 2 แห่ง Times Higher Education 2024 และ QS World University Rankings 2024
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้