รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
19 เมษายน 2562
ข่าวเด่น, งานวิจัยและนวัตกรรม
ผลงานนวัตกรรมของนิสิตจุฬาฯ ได้รับรางวัลการประกวด “ผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562” ในงาน“มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562” (Thailand Research Expo 2019) จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ได้แก่
รางวัลการเขียนข้อเสนอโครงการ การประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร รางวัลระดับดี ผลงานเรื่อง “การรวมทุกขั้นตอนในอุปกรณ์ฐานกระดาษเพียงชิ้นเดียวสำหรับการวิเคราะห์สารหนูในข้าว”
รางวัลผลงานนวัตกรรม การประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร รางวัลระดับดีเด่น ผลงานเรื่อง “การรวมทุกขั้นตอนในอุปกรณ์ฐานกระดาษเพียงชิ้นเดียวสำหรับการวิเคราะห์สารหนูในข้าว” และกลุ่มสิ่งประดิษฐ์ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต ศิลปะการออกแบบ รางวัลระดับดีเด่น ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ตรวจวัด PM2.5 ด้วยสมาร์ตโฟน”
การประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อเสริมสร้าง พัฒนาศักยภาพด้านการวิจัย และพัฒนาการประดิษฐ์คิดค้นในสถาบันการศึกษา กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญของการวิจัยและนวัตกรรม โดยในปี 2562 มีผลงานส่งเข้าร่วมประกวดจำนวน 135 ผลงานจากสถาบันอุดมศึกษา 40 สถาบัน ซึ่งปีนี้มีผลงานจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเข้าร่วมจัดแสดงทั้งสิ้น 12 ผลงาน ได้แก่
ศศินทร์เปิดหลักสูตรระยะสั้น Radical Innovation in Family Business: Transforming for the Future
18 - 19 มิถุนายน 2568 เวลา 09.00 - 16.30 น. ศศินทร์
จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “เสว่ยหลง 2 และอนาคต” เสริมความร่วมมือไทย–จีน ด้านการวิจัยขั้วโลกและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร Durham University สหราชอาณาจักร หารือความร่วมมือทางวิชาการ
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมไทย “ตายมากกว่าเกิด”: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด
คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้