รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
9 กรกฎาคม 2563
ภาพข่าว
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุม 701 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดงาน Chula SDGs Open Platform “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการสร้างภาคีแห่งความรู้เพื่อความยั่งยืน” เพื่อพิจารณาบทบาทของมหาวิทยาลัยในการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยจากมุมมอง SDGs กับการปรับบทบาทการขับเคลื่อนความยั่งยืนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างพื้นที่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานและความเชี่ยวชาญ ตลอดจนเสริมพลังเครือข่ายคณาจารย์ นักวิจัยของจุฬาฯ ที่ขับเคลื่อนงานเพื่อสร้างสรรค์การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมี รศ.ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย รองอธิการบดี ด้านการวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์ นวัตกรรม และพันธกิจสากล เป็นประธานเปิดงานและกล่าวถึง “จุฬาฯ กับเป้าหมายความยั่งยืนและการขับเคลี่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม”
ในการนี้มีการนำเสนอเรื่อง “ฉากทัศน์ของโลกและมหาวิทยาลัยเพื่ออนาคต ในมุมมองของความยั่งยืน” โดย รศ.ดร.อภิวัฒน์ รัตนวราหะ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ“ และ “SDGs กับการขับเคลื่อนในโลกธุรกิจและผลกระทบต่อสังคม” โดย อ.นิกม์ พิศลยบุตร รองผู้อำนวยการ ด้าน Strategy, Innovation and Impact สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ การแลกเปลี่ยนมุมมอง ประสบการณ์ และอภิปรายกลุ่ม “จุฬาฯ กับการขับเคลื่อนความยั่งยืน การสร้างโจทย์เชิงประเด็นและเชิงพื้นที่: มุมมองของความร่วมมือกับภาคีภายนอก” นำโดย ศ.สุริชัย หวันแก้ว ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาฯ ปิดท้ายด้วยคำปรารภเชิงสรุปภาคเช้าโดย ศ.ดร.จักรพันธ์ สุทธิรัตน์ รองอธิการบดีด้านวิจัย จุฬาฯ
ในภาคบ่ายมีการอภิปรายเรื่อง “จุฬาฯ ในโลกแห่งความไม่แน่นอน : โอกาสนวัตกรรมสหสาขาและข้ามสาขาวิชาเพื่อสังคม?” หมายการพัฒนาที่ยั่งยืน, ผืนพิภพกับสิทธิมนุษยชน : โจทย์ของมหาวิทยาลัยตรงไหน? โดย ศ.กิตติคุณ อมรา พงศาพิชญ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัย การนำเสนอมุมมองและประเด็นอภิปรายแลกเปลี่ยนเรื่อง “จุฬาฯ กับ Agenda 2030 SDGs ก้าวต่อไป” (ความร่วมมือในมหาวิทยาลัย/ประเทศ/ต่างประเทศ) ข้อเสนอแนะการขับเคลื่อนและแนวทางการสนับสนุนความยั่งยืนของจุฬาฯ แนวทางการสร้างภาคีแห่งความรู้เพื่อขับเคลื่อนอนาคตของจุฬาฯ และกล่าวปิดงาน โดย ผศ.ดร. ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ ผู้ช่วยอธิการบดีงานด้านยุทธศาสตร์ การประกันคุณภาพองค์กร และการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก
เชิญชมนิทรรศการตลาดนมและผลิตภัณฑ์นม สระบุรีพรีเมียมมิลค์ ในวันดื่มนมโลก
1 มิถุนายน 2565 เวลา 12.00 - 19.00 น.
นิสิตนักกีฬาจุฬาฯ คว้า 13 เหรียญรางวัล การแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2021 ที่เวียดนาม
ผู้บริหารจุฬาฯ และคณะผู้แทนจาก James Cook University ประเทศสิงคโปร์ หารือความร่วมมือทางวิชาการ
จุฬาฯ ร่วมแสดงความยินดีกับหนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจก้าวสู่ปีที่ 46
27 พฤษภาคม 2565
บริษัทมติชน จำกัด (มหาชน)
Siam Square จัดกิจกรรม Siam Walking Street Fest 27 -29 พฤษภาคม 2565
27 พ.ค. 65 เวลา 13.00 น.
สยามสแควร์
ค่ายอบรมโครงการ “Envi Mission : ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย