รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
12 กุมภาพันธ์ 2564
ข่าวเด่น
การเปิด-ปิดประตูจุฬาฯ ระหว่างมหาวิทยาลัยปิดที่ทำการ ระหว่างวันที่ 12-28 กุมภาพันธ์ 2564
ประตูทางเข้า-ออกสำหรับยานพาหนะ1. ประตูคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เปิดทุกวัน ตลอด 24 ชม.2. ประตูธรรมสถาน เปิดทุกวัน ตลอด 24 ชม.(คัดกรองเฉพาะรถของคณาจารย์และบุคลากรจุฬาฯ เท่านั้น)3. ประตูคณะสัตวแพทยศาสตร์ เปิดทุกวันตลอด 24 ชม. ทั้งนี้เป็นไปตามประกาศของคณะสัตวแพทยศาสตร์4. ประตูจุฬาพัฒน์ 14 เปิดทุกวัน เวลา 05.00-24.00 น.5. ประตูคณะเภสัชศาสตร์ เปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 05.00-22.00 น.วันเสาร์ เปิดเวลา 06.00-18.00 น. วันอาทิตย์ไม่เปิดให้ใช้บริการประตูที่ใช้เป็นทางออกสำหรับยานพาหนะ1. ประตูคณะวิทยาศาสตร์ (ด้านชีววิทยา) เปิดให้รถออก วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-20.00 น.2. ประตูสนามกีฬาจุฬาฯ เปิดให้รถออก วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-20.00 น.
ประตูทางเท้า1. ประตูทางเท้าคณะวิทยาศาสตร์ (ด้านชีววิทยา)2. ประตูทางเท้าอาคารจอดรถ 2 อาคารมหาจักรีสิรินธร3. ประตูทางเท้าศศินทร์ฯ เปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 06.00-18.00 น.4. ประตูทางเท้าทางเชื่อมอาคารจัตุรัสจามจุรี เปิดทุกวัน เวลา 06.00-20.00 น.5. ประตูทางเท้าคณะสหเวชศาสตร์ เปิดวันจันทร์-เสาร์ เวลา 06.00-20.00 น. (วันอาทิตย์ไม่เปิดให้ใช้บริการ)6. ประตูทางเท้าคณะเภสัชศาสตร์ เปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 05.00-22.00 น. วันเสาร์-อาทิตย์เปิดเวลา 05.00-18.00 น.7. ประตูข้างอาคารจามจุรี 9 เปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 06.00-18.00 น.8. ประตูทางเท้าสนามกีฬาจุฬาฯ เปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 06.00-18.00 น.9. ประตูทางเท้าอาคารจามจุรี 5 เปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 06.00-18.00 น.10. ประตูทางเท้าคณะรัฐศาสตร์ เปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 06.00-18.00 น.
อาคารจอดรถอาคารจอดรถคณะรัฐศาสตร์อาคารจอดรถมหาจักรีสิรินธรอาคารจอดรถจุฬาพัฒน์14เปิดให้บริการจอดรถได้ตามปกติ แต่ไม่อนุญาตให้รถที่ไม่มีตราจอดรถเข้าภายในมหาวิทยาลัย
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ โทร.0-2218-0000
คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมนักจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในองค์กร
บริษัทจำลองจุฬาฯ 2025 เปิดโครงการฝึกงานนิสิตภาคฤดูร้อน ภายใต้ปณิธาน “ทำงานด้วยใจ คืนกำไรสู่สังคม”
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ได้รับการรับรองให้เป็นผู้แทนประเทศไทยในสถาบันมาตรฐานและมาตรวิทยาแห่งประเทศอิสลาม
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จฯ ไปในพิธีต้อนรับเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” เยือนประเทศไทย ณ ท่าเรือจุกเสม็ด ฐานทัพเรือสัตหีบ จ.ชลบุรี
นักวิจัยจุฬาฯ ร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
ผู้บริหารจุฬาฯ ต้อนรับอธิการบดี Tohoku University ประเทศญี่ปุ่น หารือความร่วมมือทางวิชาการ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้