รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
9 กรกฎาคม 2564
ข่าวเด่น
ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับเครือข่ายเพื่อการประมงที่ยั่งยืนและการคุ้มครองแรงงานจัดการประชุมวิชาการทางออนไลน์ เพื่อแสดงความคิดเห็นและนำเสนอข้อมูลต่อการจัดลำดับการค้ามนุษย์ของประเทศไทยโดยสหรัฐอเมริกาประจำปี 2564 (Thailand and the U.S. TIP Report 2021) ในวันจันทร์ที่12 กรกฎาคม 2564 เวลา 13.30 – 15.30 น. เพื่อแสดงความเห็นต่อรายงานการจัดลำดับการค้ามนุษย์ของสหรัฐอเมริกาในกรณีประเทศไทย รวมถึงนำเสนอข้อมูลความพยายามกำจัดการค้ามนุษย์ในกิจการประมงทะเลและอุตสาหกรรมต่อเนื่องโดยภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม และแนวทางที่จะดำเนินการต่อไปเพื่อการคุ้มครองแรงงานตามมาตรฐานสากลระหว่างประเทศและตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญร่วมบรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจ อาทิ
– น.อ.ดรณ์ ทิพนันท์ รองผู้อำนวยการ สกค. กรมยุทธการทหารเรือ
– ดร.สุรเดช นิลอุบล รองนายกสมาคมประมง จ.สงขลา
– Mr. Ben Harkins จาก The International Labour Organization (ILO)
– คุณกวี จงกิจถาวร สื่อมวลชนอาวุโสของไทย
– ดร.ชนินทร์ ชลิศราพงศ์ นายกสมาคมอุตสาหกรรมทูน่าไทย
– ผศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ และรองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ
– ศ.ดร.สุภางค์ จันทวานิช สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ
ดำเนินรายการโดย ดร.รัชดา ไชยคุปต์ ศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ
ผู้สนใจสามารถเข้าร่วมการประชุมได้โดยสแกนคิวอาร์โค้ดที่โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ และรับชมการประชุมผ่านทาง Facebook Live สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ
อธิการบดีจุฬาฯ รับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริฯ ในพิธีต้อนรับเรือเสว่ยหลง 2 เยือนประเทศไทย
นักวิจัยจุฬาฯ ตัวแทนไทยร่วมคณะสำรวจแอนตาร์กติกบนเรือตัดน้ำแข็ง “เสว่ยหลง 2” จากจีน ตามรอยไมโครพลาสติก ถอดรหัสผลกระทบโลกร้อน สู่จิ๊กซอว์ความรู้เพื่อโลก
คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมนักจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในองค์กร
บริษัทจำลองจุฬาฯ 2025 เปิดโครงการฝึกงานนิสิตภาคฤดูร้อน ภายใต้ปณิธาน “ทำงานด้วยใจ คืนกำไรสู่สังคม”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้