รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
16 สิงหาคม 2564
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ, งานวิจัยและนวัตกรรม
นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ คว้ารางวัลจากการประกวดผลงานนวัตกรรมระดับโลก “World Invention Creativity Olympic (WICO) 2021 ” ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 8 – 10 กรกฎาคม 2564
นวัตกรรมอันยอดเยี่ยมที่ได้รับรางวัลระดับนานาชาติในครั้งนี้เป็นผลงานของนวัตกรจากโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ซึ่งคว้ามาได้ 5 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน และ 5 special award ดังนี้
ผลงานของ ด.ช.ทศ บวรวาณิชย์ ด.ช.ณพุทธ ตันติพจน์ และ ด.ญ.ณริฐา ตันติพจน์ ได้รับ 1 เหรียญทอง และ 2 Special Award จาก World Invention Intellectual Property Associations และ Korea University Invention Association
ผลงานของ ด.ญ.ปัณฑารีย์ เลิศฤทธิ์จรัสกิจ ด.ญ.ปิยสรณี วินะยานุวัติคุณ ด.ญ.ปริญ อุดมเกียรติกูล ด.ญ.ชญาภา ศรีวรวิไล และ ด.ญ.พิชา บัณฑิตชุติกุล ได้รับ 1 เหรียญทอง และ 2 Special Award จาก World Invention Intellectual Property Associations และ Korea University Invention Association
ผลงานของ ด.ญ.นภัสนันท์ สุเมธพิมลชัย และ ด.ญ.ทิตชญา มั่นคง ได้รับ 1 เหรียญทอง และ Special Award จาก Korea University Invention Association
ส่วนอีก 2 เหรียญทอง ได้แก่ “3in1 Travel Toothbrush” ผลงานของ ด.ช.ทศ บวรวาณิชย์ ด.ญ.พริมลักษณ์ บวรวาณิชย์ และ ด.ช.ปวริศร์ ตันตระรัตนะ และ “IoT Smart Health” ผลงานของ ด.ช.วรัญญู กิตติถาวรกุล
อีก 1 เหรียญเงินได้จากนวัตกรรม “Shuttlecock Pro” ผลงานของ ด.ญ.ศิริศรัณย์ ดิเรกวัฒนะ ด.ช.บารเมษฐ์ เจริญชัยสมบัติ ด.ช.หฤษฎ ปุณณาภิรมย์ และ ด.ญ.ปัญญากัญญ์ ไตรทางกูร
ส่วนนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม ก็สร้างผลงานที่ยอดเยี่ยมไม่แพ้กัน โดยคว้ามาได้ 3 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน จากนวัตกรรมต่างๆ ดังนี้
ผลงานของ ด.ญ.ชุติรดา ศานติวรพงษ์ ด.ญ.รุ่งอรุณ อัศวลาภ ด.ญ.ณัฏฐณิชา เลิศศรีสกุลรัตน์ และ ด.ญ.นิษฐกานต์ ภัทรชัยสิโรจน์
ผลงานของ ด.ญ. จีซู ยุน คำวิลัยศักดิ์ ด.ช. รัชพล ธรรมจาโร ด.ญ.นาราภัทร เห็นการไกล ด.ญ.ภิญญดา ธัญญวรรณ์ ด.ช. วณิช เชี่ยววณิชชา และ นายพีระวัฒน์ พันธ์นัทธีร์
ผลงานของ น.ส.พุทธิภา ศชา เสรีภาพ น.ส.นันท์นภัส รัตนศิริวิไล และ น.ส.ปาลิน ตัณฑเกษม
ส่วนอีก 1 เหรียญเงินเป็นของ น.ส.รมย์ชลี วัธนเวคิน จากผลงาน “Spina Pasta”
ความสำเร็จอันยอดเยี่ยมของนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์นวัตกรรมโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียนที่มีความสนใจในงานนวัตกรรมมีโอกาสและพื้นที่ในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมด้วยความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
อ.จีระศักดิ์ จิตรโรจนรักษ์ ประธานศูนย์นวัตกรรม โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ได้เผยถึงกุญแจสำคัญแห่งความสำเร็จในครั้งนี้ว่า “นวัตกรรมที่ได้รับรางวัลเป็นผลจากการปฏิรูปวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน โดยครูจะเปิดโอกาสให้นักเรียนคิดกำหนดโจทย์ด้วยตนเอง ครูทำหน้าที่รับฟัง และแนะนักเรียนหาวิธีแก้โจทย์ตามจินตนาการของแต่ละคน ที่ผ่านมาศูนย์นวัตกรรม โรงเรียสาธิตจุฬาฯ ได้ผลิตนวัตกรที่สร้างสรรค์นวัตกรรมสุดล้ำเข้าร่วมการประกวดในเวทีต่างๆ เป็นจำนวนมาก
เชิญชวนนิสิตร่วมโครงการประเมินผลการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านระบบ myCourseVille
อาจารย์และนิสิตสถาปัตย์ จุฬาฯ ร่วม Workshop กับอาจารย์และนักศึกษา Tokyo Metropolitan University ที่ญี่ปุ่น
อาจารย์และนิสิตภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วม Workshop กับอาจารย์และนักศึกษาจาก Faculty of Urban Environmental Sciences, Tokyo Metropolitan University ประเทศญี่ปุ่น (TMU)
จุฬาฯ ร่วมพิธีวางพวงมาลาถวายสักการะและจัดพิธีบำเพ็ญกุศลอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเนื่องใน “วันนวมินทรมหาราช”
ละครนิเทศจุฬาฯ 2567 “ด้ายแดงเป็นเหตุ Unfortunate Love”
24 - 26 มกราคม 2568
ณ โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ ชั้น 7 อาคารสยามสแควร์
จุฬาฯ ต้อนรับคณะศึกษาดูงานด้านการบริหารความเสี่ยงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แบ่งปันประสบการณ์การพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ จัดอบรมเรื่อง “กัญชาทางการแพทย์: ความรู้ที่ต้องมีสำหรับเภสัชกรยุคใหม่”
11 ธ.ค. 67 เวลา 09.00 – 12.15 น.
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ และ Zoom
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้